1 / 21

ข้อที่ 1 คณะกรรมการนโยบายการเงิน ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก กี่คน 2 คน 3 คน 4 คน 5 คน

ข้อที่ 1 คณะกรรมการนโยบายการเงิน ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก กี่คน 2 คน 3 คน 4 คน 5 คน. ข้อที่ 2 ธนบัตร แบบแรก ของรัฐบาลไทยได้ออกใช้ในรัชกาลใด พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

marianne
Download Presentation

ข้อที่ 1 คณะกรรมการนโยบายการเงิน ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก กี่คน 2 คน 3 คน 4 คน 5 คน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อที่ 1คณะกรรมการนโยบายการเงิน ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก กี่คน • 2 คน • 3 คน • 4 คน • 5 คน

  2. ข้อที่ 2ธนบัตรแบบแรกของรัฐบาลไทยได้ออกใช้ในรัชกาลใด • พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว • พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว • พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว • พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

  3. ธนบัตรแบบแรกของรัฐบาลไทยธนบัตรแบบแรกของรัฐบาลไทย

  4. ธนบัตรที่ระลึก ชนิดราคา ๑๐๐ บาท

  5. ข้อที่ 3 เหตุการณ์ใดต่อไปนี้หากเกิดขึ้นโดยปัจจัยอื่นๆไม่เปลี่ยนแปลงจะส่งผลให้ราคายางพาราในประเทศไทยมีราคาสูงขึ้น ก) ยอดการขายยางรถยนต์ในตลาดโลกชะลอลง ข) รัฐบาลไทยมีนโยบายเพิ่มผลผลิตต่อไร่ของการปลูกยางพารา ค) มาเลเซียมีนโยบายลดพื้นที่เพาะปลูกยางพาราเพื่อปลูกปาล์มน้ำมันมากขึ้น ง) ราคาของน้ำมันซึ่งเป็นวัตถุดิบในการผลิตยางสังเคราะห์มีแนวโน้มลดลง

  6. ข้อที่ 4ปัจจัยใดต่อไปนี้จะส่งผลให้ดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยปรับตัวสูงขึ้น หากปัจจัยอื่นๆ ไม่เปลี่ยนแปลง • 1. ภาครัฐเพิ่มงบประมาณเพื่อกระตุ้นการใช้จ่าย • 2. เศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าของไทยขยายตัวในอัตราที่สูงขึ้น • 3. ระดับการออมของเศรษฐกิจไทยเพิ่มสูงขึ้น • 4. อัตราแลกเปลี่ยนที่แท้จริงของเงินบาทแข็งค่าขึ้น • ก) 1 และ 3 • ข)2 และ 3 • ค) 2 และ 4 • ง) 1 และ 2

  7. ข้อที่ 5 ระบบที่เรียกกันว่า Daily Fixing คือระบบอะไร • ระบบการประมูลพันธบัตรรัฐบาลในตลาดแรก • ระบบการรักษาอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นให้อยู่ในกรอบที่ ธปท. กำหนดไว้ • ระบบการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน • ระบบการหักบัญชีการโอนเงินรายย่อย

  8. ข้อที่ 6ธนาคารพาณิชย์แห่งแรกที่เปิดทำการในประเทศไทย คือธนาคารใด • ธนาคารบางกอกซิตี้แบงก์ • บริษัทแบงก์สยามกัมมาจล • ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ • ธนาคารชาร์เตอร์แห่งอินเดีย ออสเตรเลีย และจีน

  9. ข้อที่ 7ในปัจจุบัน ราคาขายปลีกในประเทศไทยของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมหรือผลิตภัณฑ์ก๊าซธรรมชาติสำหรับใช้ในรถยนต์ประเภทใดที่ยังได้รับการอุดหนุนด้วยการจ่ายเงินชดเชยจากกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงซึ่งเป็นองค์กรภายใต้กระทรวงพลังงาน ก) น้ำมันเบนซิน 91 ข) LPG (Liquified Petroleum Gas) ค) น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว ง) NGV (Natural Gas for Vehicle)

  10. ข้อที่ 8 องค์กรใดที่ถูกจัดตั้งขึ้นภายใต้กฎหมายพิเศษในปี 2544 โดยให้อำนาจ และความคล่องตัวในการดำเนินการแก้ไขปัญหาสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ ในระบบสถาบันการเงิน ก) บริษัทบริหารสินทรัพย์สุขุมวิท (SAM) ข) กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (FIDF) ค) บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (บสท.) ง) สำนักงานคณะกรรมการเพื่อการส่งเสริมการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (สปน.)

  11. ข้อที่ 9 สมศักดิ์ทำงานได้เงินเดือน 8,000 บาทต่อเดือน และสวัสดิการอีก 30,000 บาทต่อปี ต่อมาขณะจะไปเรียนต่อปริญญาโทซึ่งจะต้องมีค่าใช้จ่ายต่างๆ ประมาณ 200,000 บาทต่อปี ได้รับการชักชวนไปทำงานที่ธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่งโดยจะได้รับ เงินเดือน 10,000 บาทต่อเดือน (เริ่มต้นทันที) ต้นทุนค่าเสียโอกาสในการไปเรียนต่อ ของนายสมศักดิ์ คือ เท่าใด • 200,000 บาทต่อปี • 296,000 บาทต่อปี • 320,000 บาทต่อปี • 326,000 บาทต่อปี

  12. ข้อที่ 9 สมศักดิ์ทำงานได้เงินเดือน 8,000 บาทต่อเดือน และสวัสดิการอีก 30,000 บาทต่อปี ต่อมาขณะจะไปเรียนต่อปริญญาโทซึ่งจะต้องมีค่าใช้จ่ายต่างๆ ประมาณ 200,000 บาทต่อปี ได้รับการชักชวนไปทำงานที่ธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่งโดยจะได้รับ เงินเดือน 10,000 บาทต่อเดือน (เริ่มต้นทันที) ต้นทุนค่าเสียโอกาสในการไปเรียนต่อ ของนายสมศักดิ์ คือ เท่าใดเงินเดือนที่ได้จากงานเดิม = (8,000 x 12) + 30,000 = 126,000บาทต่อปี เงินเดือนที่จะได้จาก ธพ. = 120,000 บาทต่อปี ค่าใช้จ่ายในการเรียน = 200,000บาทต่อปี ต้นทุนค่าเสียโอกาส = 200,000 + 126,000บาทต่อปี

  13. ข้อที่ 10 ถ้าตะกร้าผู้บริโภค (Consumer Basket) ประกอบด้วยก๋วยเตี๋ยว 1 จานและ ชาเขียว 2 ขวด โดยราคาในปีที่แล้วอยู่ที่ 30 และ 15 บาทตามลำดับ สำหรับปีนี้ ก๋วยเตี๋ยวและชาเขียวราคา 35 และ 20 บาทตามลำดับ อัตราเงินเฟ้อของปีนี้เท่ากับ • ร้อยละ 20 • ร้อยละ 25 • ร้อยละ 30 • ร้อยละ 35

  14. ข้อที่ 10 ถ้าตะกร้าผู้บริโภค (Consumer Basket) ประกอบด้วยก๋วยเตี๋ยว 1 จานและ ชาเขียว 2 ขวด โดยราคาในปีที่แล้วอยู่ที่ 30 และ 15 บาทตามลำดับ สำหรับปีนี้ ก๋วยเตี๋ยวและชาเขียวราคา 35 และ 20 บาทตามลำดับ อัตราเงินเฟ้อของปีนี้เท่ากับ • ปีที่แล้ว • ต้องใช้จ่ายเท่ากับก๋วยเตี๋ยว 1 ชาม ชาเขียว 2 ขวด = (1 x 30) + (2 x 15) = 60 บาท • ปีนี้ • ต้องใช้จ่ายเท่ากับก๋วยเตี๋ยว 1 ชาม ชาเขียว 2 ขวด = (1 x 35) + (2 x 20) = 75 บาท • อัตราเงินเฟ้อ • จึงเท่ากับ 100 x (75-60) / 60 = 25 %

  15. ข้อที่ 11ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกได้เพิ่มขึ้นกว่า 3เท่าตัวนับแต่ต้นปี 2545 ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่สาเหตุของการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันในตลาดโลกในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา ก) การลดปริมาณการผลิตน้ำมันของกลุ่ม OPEC ข) การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของความต้องการใช้น้ำมันของจีน ค) กำลังการผลิตน้ำมันสำรองของโลกลดต่ำลง ง) ปัญหาจากภัยธรรมชาติและความขัดแย้งทางการเมืองที่ส่งผลกระทบต่อ แหล่งผลิตน้ำมัน

  16. ข้อที่ 12ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจไทยในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2549 • ก) มูลค่าการลงทุนเร่งตัวขึ้น • ข) ดุลการค้าขาดดุล • ค) มูลค่าการส่งออกขยายตัว • ง) อัตราดอกเบี้ยนโยบายปรับเพิ่มขึ้น

  17. ข้อที่ 13 ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน ก) การปรับขึ้นราคาน้ำมันเบนซินและดีเซลไม่ได้ทำให้อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน สูงขึ้นในทันที ข)อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานมีความผันผวนมากกว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไป ค)แรงกดดันจากอุปสงค์ที่เร่งขึ้น มีผลให้อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานสูงขึ้น ง) เป้าอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานของ ธปท. ในปี 2547 อยู่ที่ร้อยละ 0-3.5

  18. ข้อที่ 14ข้อใดไม่ได้เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจไทยในปี 2540 • การชะลอตัวของส่งออก • รัฐบาลขาดดุลการคลังอย่างต่อเนื่อง • เศรษฐกิจไทยมีการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดในระดับสูง • เงินสำรองระหว่างประเทศสุทธิลดลงอย่างต่อเนื่อง

  19. ข้อที่ 15ข้อใดไม่ถูกต้องในการอธิบายความแตกต่างของคุณสมบัติของเศรษฐกิจ ที่ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่กับระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว ก) อัตราแลกเปลี่ยนภายใต้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่จะมีความผันผวน ในระยะสั้นน้อยกว่า ข) ธนาคารกลางภายใต้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่มีอิสระในการดำเนินนโยบายการเงินมากกว่า ค) ธนาคารกลางภายใต้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวมีความจำเป็นน้อยกว่า ในการถือครองทุนสำรองทางการจำนวนมาก ง) ผู้ประกอบการภายใต้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวจำเป็นต้องให้ความสำคัญ กับการบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนมากขึ้น

More Related