290 likes | 438 Views
การขับเคลื่อนนโยบายวิจัยสู่การปฏิบัติ ในระดับภูมิภาคเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้. นายธานินทร์ ผะเอม ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
E N D
การขับเคลื่อนนโยบายวิจัยสู่การปฏิบัติในระดับภูมิภาคเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายวิจัยสู่การปฏิบัติในระดับภูมิภาคเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้ นายธานินทร์ ผะเอม ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การประชุมสัมมนาทางวิชาการในงานการนำเสนอผลงานวิจัยของชาติ (Thailand Research Expo 2010)วันศุกร์ที่ 27 สิงหาคม 2553 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้อง World Ballroom ชั้น 23ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์
Agenda 1 1 ทิศทางแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (2555-2559) 2 ร่างนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 (2555-2559) กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่11 3 แนวทางการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ
ทิศทางแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (2555-2559) 1
กรอบทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 • เป็น"แผนยุทธศาสตร์“ ยึดวิสัยทัศน์ปี 2570 น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ และมุ่งสร้างภูมิคุ้มกันให้ประเทศพร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลง • วิเคราะห์บริบทการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกประเทศ รวมทั้งความเสี่ยงที่ต้องเผชิญ นำไปสู่การสร้างภูมิคุ้มกันในอีก 5 ปีข้างหน้า • ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งในการสร้างความ เข้าใจร่วมกัน การร่วมคิด และร่วมขับเคลื่อนแผนฯ ไปสู่การปฏิบัติ
กรอบทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 • ความเสี่ยงของประเทศ........... 1. การบริหารภาครัฐที่อ่อนแอ 3. โครงสร้างประชากรไม่สมดุล 5. ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมของประเทศมีแนวโน้มเสื่อมโทรมรุนแรง 4. ค่านิยมที่ดีงานของไทยเสื่อมถอย 2. โครงสร้างทางเศรษฐกิจไม่สามารถรองรับการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน
ภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศ...........ภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศ........... กรอบทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 1. ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. ชุมชนเป็นกลไกที่มีความสามารถในการบริหารจัดการ มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และเชื่อมโยงกันเป็นสังคมสวัสดิการ 3. การพัฒนาประเทศให้อยู่บนฐานความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัย 2. ภาคเกษตรเป็นฐานรายได้หลัก และความมั่นคงด้านอาหารของประเทศ 6.ประเทศไทยมีศักดิ์ศรีความเป็นเอกราช เป็นมิตรกับนานาประเทศ 4.สังคมไทยมีค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดีงาม
กรอบทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
ร่างนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 (2555-2559) กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่11 2
ร่างนโยบายฯ การวิจัยฉบับที่ 8 กับ แผนฯ 11 • ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 1: การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางสังคม • วิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระบบการเรียนรู้ วัฒนธรรม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต และสวัสดิการเพื่อความมั่นคงของชีวิต • การสร้างความเข้มแข็งและการสร้างภูมิคุ้มกันของท้องถิ่นและสังคม การเสริมศักยภาพชุมชนที่เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา รวมทั้ง มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพเยาวชน ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ และผู้สูงอายุ การสร้างความเป็นธรรมในสังคม การพัฒนาคนสู่สังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิต • ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 2: การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ • วิจัยเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในภาคการผลิต (เกษตร อุตสาหกรรม และบริการ) และพัฒนาองค์ความรู้และต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์เชิงพาณิชย์หรือสังคม • พัฒนาอุตสาหกรรมผลิตพลังงานชีวภาพและพลังงานทางเลือก และยกระดับประสิทธิภาพและมาตรฐานการให้บริการด้านโลจิสติกส์และการขนส่งสาธารณะที่มีคุณภาพ • พัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ความสมดุลและมั่นคงของอาหารและพลังงาน • ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 3: การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางวิทยาการ และทรัพยากรบุคคล • พัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ใหม่ทางวิทยาศาสตร์ ทางสังคมศาสตร์และการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ในวิทยาการต่างๆ • สร้างศักยภาพและความสามารถของทรัพยากรบุคคลในวิทยาการต่าง ๆ การสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้และปัจจัยแวดล้อม การสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจในภูมิภาค • ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 4: การเสริมสร้างและพัฒนาทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • บริหารจัดการและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน • สร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับทรัพยากรดิน น้ำ และภัยธรรมชาติ ACMECS BIMSTEC IMT-GT การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน • ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 5: การบริหารจัดการความรู้ ผลงานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และ ภูมิปัญญา สู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์และสาธารณะ • วิจัยเพื่อการปฏิรูประบบวิจัยของประเทศ • วิเคราะห์และประเมินผลเพื่อการพัฒนาศักยภาพและความสามารถการวิจัยของประเทศ
แนวทางการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติแนวทางการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ 3
แนวทางการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติแนวทางการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ การบริหารจัดการเพื่อขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ แผนฯ 11 แนวทางดำเนินงาน ภาคีการพัฒนา นโยบายรัฐบาล • แผนบริหารราชการแผ่นดิน • นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย • แผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ กระทรวง • แผนกลยุทธ์/แผนปฏิบัติการกรม • แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • แผนพัฒนาท้องถิ่น ขั้นตอนการดำเนินงาน รัฐบาล/สศช. ราชการส่วนกลาง กระทรวง/กรม จังหวัด/ท้องถิ่น • สร้างความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของแผนฯ เกิดการยอมรับ แล้วนำไปสู่การผสมผสานและสอดแทรกไว้ในแผนปฏิบัติการต่างๆ ความเข้าใจวัตถุประสงค์ กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติ สมาคมธนาคารไทย สภาอุตสาหกรรม หอการค้าไทย สมาคมผู้ประกอบการ การยอมรับเข้าเป็นงานสำคัญ • แผนขับเคลื่อนภาคเอกชน • แผนขับเคลื่อนธุรกิจรายสาขา • แผนกลยุทธ์องค์กร • พัฒนาวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการแปลงแผนฯ ไปสู่การปฏิบัติที่เหมาะสม วิธีการ/เครื่องมือในการแปลงแผนฯ องค์กรพัฒนาเอกชน มูลนิธิ อาสาสมัคร • แผนกลยุทธ์/แผนปฏิบัติการ • แผนงาน/โครงการ • กิจกรรมระดับพื้นที่ • จัดทำระบบการติดตามประเมินผลและสร้างตัวชี้วัดการพัฒนาที่สามารถนำไปใช้กำกับ การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างระบบการติดตามประเมินผล สภาชุมชน กรรมการหมู่บ้าน ประชาคม • แผนชุมชน
Back Up 13
1 หัวเรื่องที่6 ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (2555-2559)
แนวทางการสร้างความเป็นธรรมในสังคมแนวทางการสร้างความเป็นธรรมในสังคม การสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม เสริมสร้างความสัมพันธ์ของคนในสังคมให้เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน • สร้างความแข็งแกร่งให้เศรษฐกิจฐานราก • ปรับระบบการคุ้มครองทางสังคมให้ครอบคลุมทุกคนอย่างทั่วถึง • ส่งเสริมการจัดสรรทรัพยากรให้เกิดความเป็นธรรม • ส่งเสริมการใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาอาชีพและยกระดับคุณภาพชีวิต • สนับสนุนการพัฒนาสื่อสร้างสรรค์ ในการสร้างค่านิยมใหม่ • พัฒนาความสัมพันธ์ของกลุ่มต่างๆ ในสังคมให้เข้มแข็ง • อนุรักษ์และฟื้นฟูวัฒนธรรมที่ดีงาม เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดี • ส่งเสริมวัฒนธรรมการเมืองที่มีธรรมาภิบาล • สร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจให้เกิดขึ้นกับคนในสังคม คุณภาพสังคม (Social Quality) • สร้างโอกาสให้กลุ่มด้อยโอกาสเข้าถึงบริการทางสังคมอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม • เสริมสร้างความมั่นคงให้คนยากจนมีความพร้อมรับผลกระทบจากวิกฤตต่างๆ • เสริมสร้างพลังทางสังคมให้ทุกคนสามารถแสดงออกทางความคิดอย่างอิสระ • เสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชนให้จัดการปัญหาต่างๆ • ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเป็นพลังร่วมในการพัฒนาสังคมไทย • เสริมสร้างระบบบริหารราชการให้เข้มแข็งมีประสิทธิภาพ เน้นการสร้างภูมิคุ้มกันระดับปัจเจกและสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจในการพัฒนาประเทศ เพิ่มทางเลือกการใช้ชีวิตในสังคมและสร้างการมีส่วนร่วมในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองได้อย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี การจัดบริการทางสังคมให้ทุกคนตามสิทธิพึงมีพึงได้ การเสริมสร้างพลังให้ทุกภาคส่วน
แนวทางการพัฒนาคนสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืนแนวทางการพัฒนาคนสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ส่งเสริมคนไทยให้มีการเกิดที่มีคุณภาพและกระจายตัวเหมาะสมกับพื้นที่ พัฒนาคนทุกช่วงวัยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดชีวิต เสริมสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมไทยทีดี • 1) เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดี และวัฒนธรรมประชาธิปไตย โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน • 2) เสริมสร้างความเข้มแข็งให้สถาบันหลักของสังคมมีบทบาทหลักในการหล่อหลอม บ่มเพาะเด็ก/เยาวชน และปลูกจิตสำนึกกลุ่มคนต่างๆ ให้มีวัฒนธรรมและค่านิยมที่ดีงาม • 3) ส่งเสริมองค์กรธุรกิจในการดำเนินงานที่รับผิดชอบต่อสังคม • พัฒนาเด็กปฐมวัยให้มี IQ EQ MQ • 2) พัฒนาด้านวิชาการแก่เด็กวัยเรียน ทั้งมาตรฐานการศึกษา คุณภาพครู และพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม • 3) จัดให้มีกลไกการขับเคลื่อนและสนับสนุนการปฏิรูปการศึกษา • 4) พัฒนาสมรรถนะกำลังแรงงาน: ภาคเกษตร กำลังคนระดับกลาง กำลังคนด้าน S&T • 5) พัฒนาผู้สูงอายุให้มีความมั่นคงด้านรายได้ นำความรู้มาใช้พัฒนาประเทศ • 6) พัฒนาคนให้มีการเรียนรู้ในศาสตร์วิทยาการที่ประกอบอาชีพได้หลากหลาย ควบคู่กับเสริมสร้างทักษะให้มีจิตสาธารณะ 5 ด้าน* • 1) สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ด้วยการสร้างกระแสสังคมให้การเรียนรู้เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคน • 2) เสริมสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลายและสอดคล้องกับภูมิสังคม ควบคู่กับการใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ทั่วไป • 3) สร้างปัจจัยสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยพัฒนาองค์ความรู้ของท้องถิ่น และปรับปรุงกฎระเบียบ • 4) จัดระบบความสัมพันธ์ของสวัสดิการทางสังคมให้เชื่อมโยงและเกื้อกูลกัน ควบคู่กับกระจายอำนาจให้ชุมชนมีบทบาทในการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต • ส่งเสริมการเกิดที่มีคุณภาพและรักษาระดับอัตราเจริญพันธุ์ให้เหมาะสม • 2) มุ่งพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพอย่างมีส่วนร่วม ควบคู่กับส่งเสริมให้ชุมชนท้องถิ่นมีความเข้มแข็งในการดำเนินการด้านสุขภาพ • 3) ส่งเสริมสนับสนุนการกระจายตัวของประชากรให้สอดคล้องกับทรัพยากรธรรมชาติ และฐานข้อมูลของการย้ายถิ่น *การเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต คิดเป็น ทำเป็น การสังเคราะห์ความรู้ สั่งสม และต่อยอดสู่นวัตกรรมความรู้
แนวทางการพัฒนาการสร้างสมดุลอาหารและพลังงานแนวทางการพัฒนาการสร้างสมดุลอาหารและพลังงาน 1 พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นฐานการผลิตภาคเกษตรให้เข้มแข็งและยั่งยืน เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตรและสร้างมูลค่า 2 3 สร้างความมั่นคงในอาชีพและรายได้แก่เกษตรกร สร้างความมั่นคงด้านอาหารและหลังงานในระดับครัวเรือนและชุมชน 4 5 สร้างความมั่นคงด้านพลังงานเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศและความเข้มแข็งภาคเกษตร 6 ปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐเพื่อเสริมสร้างความสมดุลด้านอาหารและพลังงาน
แนวทางการพัฒนาการสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้และปัจจัยแวดล้อมแนวทางการพัฒนาการสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้และปัจจัยแวดล้อม ให้ความสำคัญต่อการใช้นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งต่อยอดองค์ความรู้ ในการสร้างมูลค่าตลอดห่วงโซ่อุปทาน เป็นพลังขับเคลื่อนหลักสู่เศรษฐกิจสมดุลและยั่งยืนในระยะยาว
แนวทางการพัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนแนวทางการพัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 1 การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและพฤติกรรมการบริโภคสู่สังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2 3 การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรของภาคการผลิตและบริการ 4 การจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและโครงสร้างพื้นฐาน 5 การยกระดับขีดความสามารถในการปรับตัวรับมือกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ 6 การพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และเป็นธรรม
แนวทางการพัฒนาการสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจในภูมิภาคแนวทางการพัฒนาการสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจในภูมิภาค • ผลักดันให้อาเซียนมีบทบาทนำที่สร้างสรรค์ในเวทีระหว่างประเทศ • ยกระดับการให้บริการด้านสุขภาพและสาธารณสุข • ยกระดับทักษะฝีมือแรงงานและทักษะด้านภาษา • สร้างความเข้มแข็งสถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน 1. สร้างความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • พัฒนาบริการขนส่งและโลจิสติกส์ • ปรับปรุงกฎระเบียบการขนส่งคนและสินค้า • พัฒนาบุคลากรในธุรกิจการขนส่งและโลจิสติกส์ 2. ขยายความร่วมมือภายใต้กรอบความร่วมมือต่างๆ • สร้างศักยภาพชุมชนท้องถิ่นให้รับรู้และเตรียมพร้อมรับกระแสการเปลี่ยนแปลง • สนับสนุนกลไกการพัฒนาระดับพื้นที่ในการกำหนดยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ให้พัฒนาเชื่อมโยงกับเพื่อนบ้านในทิศทางที่สอดคล้องกับนโยบายระหว่างประเทศ • ส่งเสริมศักยภาพด้านวิชาการและเครือข่ายสถาบันการศึกษา 3. ปรับปรุงและเสริมสร้างความเข้มแข็งภาคีการพัฒนาตั้งแต่ระดับชุมชนท้องถิ่น 4. สนับสนุนการเปิดการค้าเสรีและวางแนวทางป้องกันผลเสียที่จะเกิดขึ้น • เร่งปฏิรูปกฎหมายศก. กฎ ระเบียบต่างๆให้เอื้อต่อการประกอบธุรกิจการค้า/ลงทุนอย่างเป็นธรรม & ผลักดันประกาศใช้กฎหมายใหม่ๆรองรับการเปิดเสรี • ส่งเสริมการจดสิทธิบัตร การคุ้มครองและบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา 5. พัฒนาฐานลงทุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในภูมิภาค • พัฒนาพื้นที่ภาคต่างๆของประเทศให้เชื่อมโยงกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเฉพาะในแนว EWEC NSEC • พัฒนาเขตศก.ชายแดน/เมืองชายแดนให้เป็นประตูเชื่อมโยงศก.กับประเทศเพื่อนบ้าน • บูรณาการแผนพัฒนาพื้นที่เชื่อมโยงกับเพื่อนบ้าน เพื่อประโยชน์ด้านมั่นคงและเสถียรภาพพื้นที่ • เร่งดำเนินการด้านการยอมรับมาตรฐานฝีมือระหว่างประเทศเพื่ออำนวยความสะดวกการเคลื่อนย้ายแรงงาน • ส่งเสริมผู้ประกอบการไทยในการขยายการลงทุนไปสู่ต่างประเทศ • คุ้มครองและส่งเสริมสิทธิและผลประโยชน์ของคนไทยและแรงงานไทยในต่างประเทศ 6. สร้างความเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจในภูมิภาค 7. เสริมสร้างความร่วมมือที่ดีระหว่างประเทศสนับสนุนการเจริญเติบโตศก.อย่างมีจริยธรรมไม่กระทบสวล. • ดำเนินการตามพันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง • เสริมสร้างการผลิตและบริโภคสินค้าและบริการที่นำสู่การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม • พัฒนาศักยภาพและความพร้อมในการป้องกันและแก้ปัญหาข้ามชาติทั้งระบบ • เตรียมพร้อมรับภัยพิบัติทางธรรมชาติและเหตุฉุกเฉิน • ร่วมมือป้องกันการติดเชื้อและการแพร่ระบาดของโรคภัยที่เกิดขึ้นใหม่ในโลก 8. ขยายความร่วมมือภายใต้กรอบความร่วมมือต่างๆ
ทิศทางการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคตทิศทางการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคต • ใช้แรงงานราคาถูกและทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลัก • การพัฒนาเศรษฐกิจใช้วิธีการแข่งขันด้วยราคา • พึ่งพาความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และเทคโนโลยีการผลิตจากต่างประเทศในการพัฒนาประเทศ • การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ตลอดห่วงโซ่การผลิต • การพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทาง ศก. พร้อมกระจายรายได้และสร้างสมดุลทางเศรษฐกิจ • การยกระดับมาตรฐานความเป็นอยู่ของประชาชน • เศรษฐกิจของประเทศขึ้นอยู่กับภาคเกษตร ข้าว ยางพารา ไม้สัก ดีบุก • ส่งออกสินค้าขั้นพื้นฐานที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจต่ำ • ใช้แนวคิดสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรม รวมทั้งต่อยอดองค์ความรู้ เพื่อสร้างผลิตภาพการผลิตและมูลค่าตลอดห่วงโซ่อุปทาน • ใช้ความได้เปรียบด้านที่ตั้งและเอกลักษณ์ความเป็นไทย สนับสนุนให้ไทยเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าและการผลิตสินค้าและบริการบนฐานความรู้ นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของภูมิภาค 2525 2500 2553
2 หัวเรื่องที่ความเชื่อมโยงร่างนโยบายฯ การวิจัยฉบับที่ 8 กับ แผนฯ 11
ร่างนโยบายฯ การวิจัย กับ แผนฯ 11 แผนฯ 11 ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 1: ร่างนโยบายวิจัย การพัฒนาคนสู่สังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ร่างนโยบายฯ การวิจัย กับ แผนฯ 11 ร่างนโยบายวิจัย แผนฯ 11 ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 2: การสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจในภูมิภาค
ร่างนโยบายฯ การวิจัย กับ แผนฯ 11 แผนฯ 11 ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 3: ร่างนโยบายวิจัย การสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้และปัจจัยแวดล้อม
ร่างนโยบายฯ การวิจัย กับ แผนฯ 11 แผนฯ 11 ร่างนโยบายวิจัย ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 4:
ร่างนโยบายฯ การวิจัย กับ แผนฯ 11 แผนฯ 11 ร่างนโยบายวิจัย ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 5: