270 likes | 424 Views
การเทียบโอนผลการเรียนรู้ (Recognition of Prior Learning). การเรียนรู้เกิดได้จากสถานการณ์ต่าง ๆ ใช่หรือไม่. การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร. เราจะยอมรับผลการเรียนรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ได้อย่างไร?.
E N D
การเทียบโอนผลการเรียนรู้(Recognition of Prior Learning)
การเรียนรู้เกิดได้จากสถานการณ์ต่าง ๆใช่หรือไม่ การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร
เราจะยอมรับผลการเรียนรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ได้อย่างไร? เทียบโอนผลการเรียนรู้เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนำความรู้ ประสบการณ์ มาทำการประเมินเทียบโอนเข้าสู่หน่วยกิต เป็นการยอมรับความรู้ ประสบการณ์ให้เป็นส่วนหนึ่งของผลการเรียนตามหลักสูตร
การเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์จากการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย การเทียบโอนผลการเรียนรายวิชา/กลุ่มวิชาจากการศึกษาในระบบและนอกระบบ การเทียบโอนผลการเรียนรู้
กระบวนการประเมินเพื่อตรวจสอบว่าบุคคลที่มาขอเทียบโอนความรู้และประสบการณ์มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ความชำนาญ เจตคติ กิจนิสัยตามสมรรถนะตรงตามรายวิชา/กลุ่มวิชาที่ขอเทียบหรือไม่ โดยต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำที่กำหนด จึงสามารถเทียบเป็นหน่วยกิตได้ และได้รับการยกเว้นไม่ต้องเรียนในรายวิชา/กลุ่มวิชานั้น การเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์
คุณสมบัติของผู้ขอรับการประเมินฯคุณสมบัติของผู้ขอรับการประเมินฯ เงื่อนไขการขอรับการประเมินฯ เข้าสู่หน่วยกิต การขอรับการประเมินเพื่อเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ วิธีการประเมินเพื่อเทียบโอนฯ ผู้ประเมิน หลักเกณฑ์การขอประเมินเทียบโอนความรู้และประสบการณ์
คุณสมบัติผู้ขอรับการประเมินคุณสมบัติผู้ขอรับการประเมิน เป็นนักเรียน/นักศึกษา มีพื้นความรู้ ประสบการณ์ มีหลักฐานแสดงความรู้ประสบการณ์
ลงทะเบียนเทียบโอน ฯได้ ไม่เกิน 2 ใน 3 ของจำนวนหน่วยกิต มีความรู้ในรายวิชา/มีประสบการณ์/ทำอาชีพนั้น ขอประเมินเทียบโอนได้ ประเมินไม่ผ่านจะขอประเมินเทียบโอนฯในภาคเรียนนั้นอีกไม่ได้ แต่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนนั้นได้ เงื่อนไขการขอรับการประเมินเทียบโอน ฯ เข้าสู่หน่วยกิต
ผ่านการประเมินเบื้องต้นผ่านการประเมินเบื้องต้น การประเมินความรู้และประสบการณ์ต้องผ่านเกณฑ์ประเมิน ตามระเบียบประเมินผลฯ การตัดสินผลการประเมินและการให้ค่าระดับผลการเรียน ตัดสินผลเป็นรายวิชาตามหลักสูตร ได้คะแนนการประเมินเทียบโอนไม่ต่ำกว่า 50% ** การขอรับการประเมินเพื่อเทียบโอนความรู้และประสบการณ์
1.1 จากหลักฐานทางราชการ/สถานประกอบการ เช่นวุฒิบัตร เกียรติบัตร หนังสือรับรอง - อายุไม่เกิน 5 ปีนับถึงวันขอประเมิน หรือ อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาถ้าเป็นภาคเอกชนออกให้ ต้องประกอบการถูกต้องตามกฎหมาย - จำนวนชั่วโมงปฏิบัติงาน/ฝึกอบรมไม่น้อยกว่าจำนวนชั่วโมงของรายวิชาในหลักสูตรเนื้อหาสาระที่สอดคล้อง กับรายวิชา/กลุ่มวิชา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 วิธีการประเมิน • การประเมินเบื้องต้น
1.2 การสัมภาษณ์เบื้องต้น - ความรู้ / ทักษะ ประสบการณ์ ผลงาน ฯ • การประเมินเบื้องต้น
โดยใช้วิธีและเครื่องมือประเมินที่หลากหลาย เพื่อประเมินตามระเบียบการประเมินผลของหลักสูตรที่ขอประเมิน โดยคณะกรรมการประเมินเป็นผู้ดำเนินการ วิธีการประเมิน 2.การประเมินภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ 3. วิธีการประเมินตาม 1, 2 ทำได้ทั้งเป็น รายกลุ่ม /รายบุคคล
คณะกรรมการประเมินภาคทฤษฎี-ปฏิบัติคณะกรรมการประเมินภาคทฤษฎี-ปฏิบัติ คณะกรรมการประเมินเบื้องต้น • ไม่น้อยกว่า 3 คน • หัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้างาน • ผู้สอน/ครูฝึกรายวิชา • ผู้เชี่ยวชาญด้านวิชาชีพ • ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ • หัวหน้างานหลักสูตรและการสอน • หัวหน้างานวัดผลและประเมินผล ฯ
การประเมินความรู้และประสบการณ์ ประเมิน ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ความชำนาญ เจตคติ รวมทั้ง กิจนิสัยตามสมรรถนะ (Competencies)ในรายวิชาที่ขอประเมิน
ตัดสินผลการประเมินเป็นรายวิชาตัดสินผลการประเมินเป็นรายวิชา ต้องได้คะแนนจากการประเมินไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ประเมินทฤษฎี ปฏิบัติ หรือทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ เวลาที่ใช้ในการประเมินไม่น้อยกว่าเวลาเรียน/สัปดาห์ สำหรับรายวิชา หรือ อยู่ในดุลพินิจ ใช้ค่าระดับผลการประเมินตามระดับผลการเรียน การตัดสินผลการประเมิน
ขั้นตอนการขอประเมินของนักเรียน/นักศึกษาขั้นตอนการขอประเมินของนักเรียน/นักศึกษา ขั้นตอนการปฏิบัติในการประเมินของสถานศึกษา แนวทางการจัดการประเมินเทียบโอนฯ
ขั้นตอนการขอประเมินของนักเรียน/นักศึกษาขั้นตอนการขอประเมินของนักเรียน/นักศึกษา ศึกษาข้อมูล ยื่นคำร้อง เข้ารับการประเมินเบื้องต้น รับทราบผลเบื้องต้น นำผลไปเทียบโอน ลงทะเบียนขอประเมิน ผ่าน รับทราบผลการประเมิน เข้ารับการประเมิน ลงทะเบียนเรียน ไม่ผ่าน
จัดทำประกาศ ประชาสัมพันธ์ จัดทำแบบคำร้องขอประเมิน รับแบบคำร้อง ดำเนินการประเมินเบื้องต้น ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการประเมิน แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินทฤษฎี-ปฏิบัติ ประชุมวางแผนการประเมินเข้าสู่หน่วยกิต ขั้นตอนการปฏิบัติในการประเมินของสถานศึกษา • ประกาศแจ้งวัน เวลา สถานที่ • รับลงทะเบียนการขอประเมิน • จัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ • ดำเนินการประเมิน • จัดทำเอกสารผลการประเมินเสนอเพื่อขออนุมัติ • ประกาศผล นำผลไปเทียบโอน
การเทียบโอนผลการเรียนการเทียบโอนผลการเรียน
ยื่นคำร้องขอเทียบโอนในภาคเรียนที่ ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน ต้องศึกษาในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนไม่น้อยกว่า 1 ภาคเรียน การเทียบโอนผลการเรียน เงื่อนไข
อายุผลการเรียนที่จะนำมาเทียบโอนให้อยู่ในดุลพินิจของกรรมการ ผลการเรียนที่ได้รับการเทียบโอนให้คงเดิม หรือผลการประเมินใหม่แต่ไม่สูงกว่าเดิม สถานศึกษาอนุมัติผลการเทียบโอน เงื่อนไขการเทียบโอนผลการเรียน
หลักสูตรเดียวกัน - รับโอนทุกรายวิชา - ระดับผลการเรียน 1 จะรับโอน หรือประเมิน ใหม่ก่อนรับโอน วิธีการเทียบโอนผลการเรียน
หลักสูตรอื่นที่มีลักษณะเดียวกัน - รายวิชา/กลุ่มวิชาที่มีจุดประสงค์และเนื้อหาใกล้เคียงกันไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 60 - จำนวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่าหน่วยกิตของรายวิชาที่รับโอน - ได้ระดับผลการเรียนตั้งแต่ 2 ขึ้นไป อาจรับโอนหรือประเมินใหม่ วิธีการเทียบโอนผลการเรียน
หลักสูตรอื่นในระดับเดียวกัน - รายวิชา/กลุ่มวิชาที่มีจุดประสงค์และเนื้อหาใกล้เคียงกันไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 60 - จำนวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่าหน่วยกิตของรายวิชาที่รับโอน - ได้ระดับผลการเรียนต่ำกว่า 2 ให้ประเมินใหม่ หรือ 2 ขึ้นไป อาจรับโอนหรือประเมินใหม่ วิธีการเทียบโอนผลการเรียน
ผลการเรียนของผู้ที่สถานศึกษาให้พ้นสภาพ - รายวิชาที่ยังปรากฏในหลักสูตร - รายวิชา/กลุ่มวิชาที่มีเนื้อหาใกล้เคียงกันไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 - จำนวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่าหน่วยกิตของรายวิชาในหลักสูตร วิธีการเทียบโอนผลการเรียน