1 / 14

การศึกษาอุปสงค์ต่อเบียร์ในประเทศอังกฤษ

การศึกษาอุปสงค์ต่อเบียร์ในประเทศอังกฤษ. ต้องการสร้าง statistical model of demand for beer สังเกตเห็นว่าปริมาณการซื้อเบียร์น่าจะมีความสัมพันธ์กับราคาเบียร์ เก็บข้อมูลราคาเบียร์และปริมาณเบียร์จากคาร์ฟูเพื่อวิเคราะห์ทางสถิติ. ตัวแบบอุปสงค์และอุปทาน. P = f(Q)

Download Presentation

การศึกษาอุปสงค์ต่อเบียร์ในประเทศอังกฤษ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การศึกษาอุปสงค์ต่อเบียร์ในประเทศอังกฤษการศึกษาอุปสงค์ต่อเบียร์ในประเทศอังกฤษ • ต้องการสร้าง statistical model of demand for beer • สังเกตเห็นว่าปริมาณการซื้อเบียร์น่าจะมีความสัมพันธ์กับราคาเบียร์ • เก็บข้อมูลราคาเบียร์และปริมาณเบียร์จากคาร์ฟูเพื่อวิเคราะห์ทางสถิติ

  2. ตัวแบบอุปสงค์และอุปทานตัวแบบอุปสงค์และอุปทาน P = f(Q) P = ราคาเบียร์ Q = ปริมาณการซื้อขายเบียร์ Pt = a + bQt b < 0 Pt = c + dQt d > 0 ผลการประมาณตัวแบบ Pt = 15 + 0.89Qtt = 1,2………T อุปสงค์หรืออุปทาน?

  3. การวิเคราะห์ตัวแบบ • เป็นอุปทานเพราะสัมประสิทธิ์ราคาเป็นบวก? • เป็นข้อมูลที่ได้มาจากผู้ขายจึงสะท้อนพฤติกรรมของผู้ขาย? • การวิเคราะห์ในสองข้อแรกเป็นตัวอย่างของการวิเคราะห์ที่ไม่มีตรรกทางเศรษฐศาสตร์

  4. ตรรกในการสร้าง statistical Demand Model • Pt = a + bQt t = 1,2……T • รวมสมการอุปสงค์สำหรับข้อมูลแต่ละชุด • ΣPt = aT + bΣQt • หารตลอดด้วย T • P* = a + bQ* • ลบออกจากสมการอุปสงค์จะได้สมการลดรูปของอุปสงค์(reduced form) • pt = bqt • pt = (Pt-P*) • P* และ Q* คือค่าเฉลี่ย • qt = (Qt-Q*) • สมการลดรูปของอุปทาน • pt = dqt

  5. การบ่งชี้อุปสงค์และอุปทานการบ่งชี้อุปสงค์และอุปทาน • เงื่อนไขดุลยภาพ • qt (d - b) = 0 • ไม่สามารถถอดค่า b และ d ได้ • เป็นจริงสำหรับทุกค่าที่ b=d • สมการอุปสงค์และอุปทานไม่เป็นอิสระต่อกัน • การที่ไม่สามารถถอดค่า b หรือ d ได้แสดงว่าตัวแบบ P = f(Q) ไม่สามารถใช้จำลองอุปสงค์หรืออุปทานได้ ถ้าจำลองได้ตัวแบบจะต้องอยู่ในรูปแบบที่สามารถถอดค่า b และ d ได้

  6. S2 S1 P P1 D1 D2 Q Q1 กราฟของเงื่อนไขดุลยภาพ

  7. ตัวแบบอุปสงค์/อุปทานจาก logical model • ∑pt =b∑ qt + e∑ it + k∑ pot --อุปสงค์ • ∑pt =d∑qt + f∑mt ------อุปทาน • สร้างสมการใหม่ • ∑itpt = b∑qtit + e∑it2+ k∑itpot • ∑ptpot = b∑potqt + e∑potit + k∑pot2 • ∑ptmt = b∑mtqt + e∑mtit + k∑mtpot • สามารถถอดค่า b e และ k ได้ • ข้อมูลที่ต้องการในการสร้างตัวแบบเชิงสถิติคือ p q i po

  8. ปริมาณเบียร์เป็นพันเฮกโตลิตร รายได้เป็นพันล้านปอนด์ ราคาอยู่ในรูปดัชนี ที่มา : Johnes, Geraint, Economics for Managers Singapore: Prentice Hall, 1990, หน้า 52

  9. รูปแบบของสมการอุปสงค์รูปแบบของสมการอุปสงค์ • รูปแบบสมการอุปสงค์มีหลากหลาย เช่น ล็อค-ล็อค • สัมประสิทธิ์คือความยืดหยุ่น • a เป็นความยืดหยุ่นราคา • b เป็น cross price elasticity • d เป็น income elasticity

  10. *adjusted R2

  11. การเลือกรูปแบบตัวแบบเชิงสถิติการเลือกรูปแบบตัวแบบเชิงสถิติ • เป็นทั้ง art และ science • ไม่มีกฎตายตัว • นัยสำคัญทางสถิติและความสอดคล้องกับทฤษฎี

  12. การใช้ตัวแบบเชิงปริมาณการใช้ตัวแบบเชิงปริมาณ • พยากรณ์ • มีข้อสมมติว่าโครงสร้างของตัวแบบไม่เปลี่ยน • เช่น ความยืดหยุ่นต่างๆ • การวิเคราะห์นโยบาย • เช่น ถ้ารัฐบาลเก็บภาษีเบียร์จะมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคเบียร์อย่างไร? • ต้องมีการ update ตัวแบบ • ตัวอย่างการสร้างตัวแบบ • ไฟฟ้า • น้ำมัน

More Related