200 likes | 1.08k Views
บทที่ 4 การจัดการอุปกรณ์อินพุตเอาต์พุต และสื่อจัดเก็บข้อมูล. โดย อาจารย์กฤติเมธ โอพั่ง. ประเภทของอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อมี 2 ประเภท คือ. อุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต (Input / Output Device) 2. อุปกรณ์เก็บข้อมูล (Storage Device). หน้าที่ของระบบปฏิบัติการในการจัดการอุปกรณ์.
E N D
บทที่ 4 การจัดการอุปกรณ์อินพุตเอาต์พุตและสื่อจัดเก็บข้อมูล โดย อาจารย์กฤติเมธ โอพั่ง
ประเภทของอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อมี 2 ประเภท คือ • อุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต (Input / Output Device) 2. อุปกรณ์เก็บข้อมูล (Storage Device)
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการในการจัดการอุปกรณ์หน้าที่ของระบบปฏิบัติการในการจัดการอุปกรณ์ • ติดตามสถานะของอุปกรณ์ทุกชิ้น • กำหนดอุปกรณ์ให้ใช้งาน • การยกให้ (Dedicated Device) • การแบ่งปัน (Shared Device) • การจำลอง (Virtual Device) • การจัดสรรอุปกรณ์ (Allocate) • การเรียกคืน (Deallocate)
Device Driver หรือตัวขับอุปกรณ์ เป็นซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่ในการจัดการกับอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ เพื่อให้สามารถใช้งานอุปกรณ์เหล่านั้นได้ • โดยพื้นฐานแล้ว OS (Operation System) • สามารถสื่อสารกับ I/O ฮาร์ดแวร์ได้ด้วยช่องทางต่างๆ ดังนี้ • Port • Bus • Controller
การอ้างอิงตำแหน่งข้อมูลในหน่วยความจำการอ้างอิงตำแหน่งข้อมูลในหน่วยความจำ • Direct I/O Instruction • Memory-mapped I/O
วิธีการติดต่อของอุปกรณ์กับ CPU • การพอลลิ่ง (Polling) • การอินเตอร์รัพต์ (Interrupt) • Direct Memory Access (DMA) Schedulingคือการจัดลำดับ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโอเอสในการจัดลำดับ I/O โดยทำทีละงานตามตารางที่จัดไว้ใน Scheduling Table
Caching จะมีการใช้หน่วยความจำ 2 ระดับด้วยกัน คือ หน่วยความจำที่มีขนาดใหญ่ ราคาถูก แต่ทำงานช้า กับหน่วยความจำที่มีขนาดเล็ก ราคาแพง แต่ทำงานเร็ว Spoolingเทคนิค Spool จะมีตัวจัดการที่เรียกว่า Spool Manager ที่จัดการลำดับคิวข้อมูลที่เข้ามาเก็บไว้ใน Spool และทำการทยอยข้อมูลในคิวส่งไปยังเอาต์พุต โดยมีหลักการทำงานแบบ End to one
Device Reservation เป็นการจองพื้นที่ในหน่วยความจำให้กับโปรเซสใดโปรเซสหนึ่งโดยโปรเซสอื่นไม่สามารถเข้ามาเรียกใช้งานได้ Deadlockเกิดจากความต้องการใช้งาน Resource ในขณะที่มีโปรเซสหนึ่งครอบครองอยู่ และจะไม่คลาย Resource ของตน จนกว่าตนจะได้ Resource จากโปรเซสอื่นที่ครอบครอง Resource ที่ตนต้องการก่อน
การทำงานของเทป (Tape)จะเป็นลักษณะการเรียงลำดับ(Sequential Access) หากต้องการข้อมูลส่วนกลาง หรือส่วนปลายของเทป จะต้องผ่านข้อมูลส่วนต้นก่อนเสมอ ปกติเทปจะมีการจัดแบ่งการเก็บข้อมูลเป็น แทร็ก (Track) เรคคอร์ด (Record) และ บล็อก (Block) โดยเทปมีหน่วยวัดความจุ (Density) เป็น BPI = Byte Per Inch
ไดเร็กทอรี (Directory)คือสารบัญที่เก็บรวบรวมรายชื่อไฟล์ (File) โดยแต่ละไฟล์ประกอบด้วยรายละเอียดสำคัญบางอย่างของไฟล์เอาไว้ แตกต่างกัน • โครงสร้างการจัดการไดเร็กทอรี มีหลายวิธี เช่นSingle Directory StructureTwo Level Directory StructureTree Directory StructureGraph Directory
การจัดเก็บไฟล์ลงดิสก์นั้นมีอยู่ด้วยกัน 2 วิธี คือ • เก็บข้อมูลในไฟล์แต่ละไบต์เรียงติดกันตลอดทั้งไฟล์ (Continuous Allocation)การแบ่งไฟล์เป็นบล็อก (Block)
FAT คือตารางจัดตำแหน่งไฟล์ในดิสก์ ซึ่งจะบอกตำแหน่งของไฟล์ต่างๆ ที่เก็บอยู่ในดิสก์ว่าอยู่ ณ ตำแหน่งใด
คำถาม (Questions) • จงอธิบายหน้าที่ของระบบปฏิบัติการกับอุปกรณ์ • จงยกตัวอย่าง Input และ Output Device 5 ตัวอย่าง • IBG คืออะไร จงอธิบาย • Long File Name คืออะไร จงยกตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่สนับสนุน • MS-Dos คืออะไร • จงอธิบายการทำงานแบบ Pooling • ทำไม FAT จึงเป็นส่วนที่สำคัญมาก จงอธิบายเหตุผลประกอบ