1 / 17

ปัจจัยและแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมในแม่สุกร

ปัจจัยและแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมในแม่สุกร. ผศ.ดร.สาธร พรตระกูลพิพัฒน์. “ Inadequate sow milk production leads to reduced piglet growth and, in certain cases, to increased mortality in the litter.”. ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตน้ำนมในสุกร. จำนวนเซลล์ผลิตน้ำนม ( lactocytes) หรือ เต้านม

manon
Download Presentation

ปัจจัยและแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมในแม่สุกร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ปัจจัยและแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมในแม่สุกรปัจจัยและแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมในแม่สุกร ผศ.ดร.สาธร พรตระกูลพิพัฒน์

  2. “ Inadequate sow milk production leads to reduced piglet growth and, in certain cases, to increased mortality in the litter.”

  3. ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตน้ำนมในสุกรปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตน้ำนมในสุกร • จำนวนเซลล์ผลิตน้ำนม (lactocytes) หรือ เต้านม • ความเข้มข้นของการสังเคราะห์น้ำนมโดยเซลล์ผลิตน้ำนม • ความสามารถของอวัยวะและระบบอื่นที่จะจัดหาสารอาหารที่ต่อมสร้างน้ำนมต้องการ

  4. จำนวนเซลล์ผลิตน้ำนม (lactocytes) • เต้านมเริ่มเจริญเติบโตตั้งแต่เป็นตัวอ่อนอยู่ในท้องแม่ ไปจนถึงระหว่างการให้นม • ส่วนใหญ่แล้วจะเจริญมากในช่วงท้ายของการตั้งท้อง

  5. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาของต่อมน้ำนมปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาของต่อมน้ำนม • ฮอร์โมน • เอสโตรเจน จะมีผลทำให้อัตราการพัฒนาของเต้านมเร็วขึ้น ซึ่งพบว่ามีผลต่ออัตราการพัฒนาของเต้านม ในสุกรอายุเก้าสิบวันซึ่งเป็นช่วงเดียวกับที่รังไข่เริ่มพัฒนา • โปรแลคติน มีผลต่อการพัฒนาเต้านมก่อนเข้าสู่วัยเจริญพันธ์ (จำนวนเซลล์หลั่งน้ำนมเพิ่มขึ้น) • ระหว่างการตั้งท้องการสร้างเซลล์ผลิตน้ำนมเกี่ยวข้องกับการเพิ่มความเข้มข้นของฮอร์โมน เอสโตรเจนและโปรเจสเตอร์โลนในกระแสเลือดแม่สุกร (โปรแลคตินยังต่ำอยู่)

  6. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาของต่อมน้ำนมปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาของต่อมน้ำนม • ฮอร์โมน • หลังวันที่ 105 ของการตั้งท้อง ซึ่งโปรเจสเตอร์โลนลดและความเข้มข้นของเอสโตรเจนเพิ่มขึ้น พบว่า เซลล์เต้านมจะมีอัตราการเผาผลาญพลังงานเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย (เป็นไปได้ว่าเกิดจากการเหนี่ยวนำให้เกิด ตัวรับโปรแลคติน(prolactin receptors) ในเต้านม

  7. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาของต่อมน้ำนมปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาของต่อมน้ำนม • ฮอร์โมน • นอกจากนี้ยังพบความสัมพันธ์ทางบวกระหว่างระดับของ โปรแลคตินและ น้ำหนักเต้านมที่วันที่ 110 ของการตั้งท้องอีกด้วย • โปรแลคตินมีผลต่อการสร้างเต้านมอย่างมากในช่วง 90 ถึง 109 วัน • ในสุกรสาว รีแลคซิน ช่วยกระตุ้นการเจริญของเนื้อเต้านมและลดไขมันเต้านม

  8. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาของต่อมน้ำนมปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาของต่อมน้ำนม • อาหาร • การให้อาหารแม่สุกรสาวและแม่นางในช่วงสำคัญสองช่วงต่อไปนี้มีผลต่อการพัฒนาเต้านมอย่างรวดเร็ว • ช่วง สุกรอายุ 90 วันไปจนถึงเข้าสู่วัยเจริญพันธ์ • ให้อาหารเต็มที่ • ช่วงเดือนสุดท้ายของการตั้งท้อง (สำคัญต่อการพัฒนาเนื้อเยื่อขับน้ำนม) • ไม่ควรเลี้ยงสุกรให้อ้วนเกินไป

  9. แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมในแม่สุกรแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมในแม่สุกร • การให้อาหาร • ระยะเวลาการให้นม • ฮอร์โมน

  10. การให้อาหาร • แหล่งของสารอาหารสำหรับการสร้างน้ำนมมาจากสองแหล่งใหญ่คือ อาหารที่แม่กิน และ สารอาหารที่สะสมในร่างกายแม่สุกร • การได้รับอาหารไม่พอเพียงของแม่สุกรในช่วงท้ายของการให้นมมีผลลดการเจริญเติบโตของลูกสุกร

  11. การให้อาหาร • Lysine จะต้องพอเพียง (26 g ต่อ kg ที่เพิ่มของครอก ต่อ วัน) • การเพิ่มปริมาณ valine และ isoleucine จะทำให้การผลิตน้ำนมเพิ่มขึ้น

  12. การให้อาหาร • การที่แม่สุกรได้รับพลังงานเพิ่มขึ้นจะทำให้สามารถผลิตน้ำนมมากขึ้น • ME ที่แม่สุกรได้รับเข้าไป 1 MJ จะทำให้น้ำหนักลูกสุกรเพิ่ม 1 กรัม ต่อ วัน • ในสุกรสาว หากได้รับพลังงานเกิน 75 MJ ลูกสุกรจะไม่โตเพิ่มขึ้นอีก (แม่สุกรท้องแรกก็ให้ผลเช่นเดียวกัน

  13. การให้อาหาร • ต้องให้แม่กินอาหารช่วงเลี้ยงลูกให้มากที่สุด และ ในช่วงท้องต้องเลี้ยงให้แม่ได้รับ lean tissue มาก

  14. ระยะเวลาการให้นม • ยิ่งลูกดูดนมถี่มาก จะมีผลให้เต้านมเจริญขึ้นมากและผลิตน้ำนมมากขึ้น • เปิดเทปเสียงเรียกดูดนม • ลดการรบกวนการดูดนมของลูก

  15. ฮอร์โมน • Growth Hormone (GH) • GH-releasing factor (GHRF)

  16. GH • GH มีบทบาทในการควบคุมการผลิตน้ำนม

  17. GHRF • เพิ่มความเข้มข้นของ GH • การจัดการให้แม่สุกรกินอาหารได้ดี ร่วมกับการให้ GHRF มีผลทำให้แม่สุกรผลิตน้ำนมได้ดี • Thyrotropin-releasing factor (TRF) • เพิ่มน้ำหนักเฉลี่ยลูกสุกร • มีผลให้กลับสัดช้าลง

More Related