230 likes | 333 Views
สถานการณ์การเงินการคลัง. หน่วยบริการในจังหวัดสตูล ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2556. ระดับวิกฤติ ทาง การเงิน. ผลการดำเนินงาน ณ 30 กันยายน 2556. (ล้านบาท). ภาพรวม กำไร 50.41. ทุนสำรองสุทธิ. (ล้านบาท). ภาพรวม 126.95. เงินบำรุงคงเหลือ (ไม่รวมงบลงทุน). (ล้านบาท). ภาพรวม 106.56.
E N D
สถานการณ์การเงินการคลังสถานการณ์การเงินการคลัง หน่วยบริการในจังหวัดสตูล ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2556
ผลการดำเนินงาน ณ 30 กันยายน 2556 (ล้านบาท) ภาพรวม กำไร 50.41
ทุนสำรองสุทธิ (ล้านบาท) ภาพรวม 126.95
เงินบำรุงคงเหลือ (ไม่รวมงบลงทุน) (ล้านบาท) ภาพรวม 106.56
หนี้สินที่ต้องชำระ (ไม่รวมงบลงทุน) (ล้านบาท) ภาพรวม 159.05
ประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติ • รพท.สตูล • วิกฤติระดับ 1 ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านคือ Cash Ratio (เกณฑ์ปกติ 0.8 เท่า) • Cash Ratio = เงินสดและเทียบเท่าเงินสด • หนี้สินที่ต้องชำระด้วยเงิน
แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด Cash Ratio จากงบการเงิน หนี้สินที่เพิ่มขึ้นได้แก่ เจ้าหนี้วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ข้อสังเกต รพ.สตูล ควรตรวจสอบและควบคุมให้เป็นไปตามนโยบายกระทรวงฯ)
ประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติ • รพช.ควนกาหลง • วิกฤติระดับ 2 ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านคือ Current Ratio และ Cash Ratio • 1. Current Ratio = สินทรัพย์หมุนเวียน เกณฑ์ปกติ 1.5 เท่า • หนี้สินหมุนเวียน
แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัดCurrent Ratio จากกราฟ สินทรัพย์หมุนเวียน มีแนวโน้มสูงขึ้นในไตรมาส 4 แต่นี้สินหมุนเวียนมีแนวโน้มลดลงมาตลอด ซึ่งถือว่าเป็นแนวโน้มที่ดี (ควรติดตามกำกับดูแล ให้ดีขึ้นเรื่อยๆ โดย เน้นเรื่องการจัดเก็บสินค้าคงคลัง ให้เพียงพอต่อการใช้ ไม่มากหรือน้อยเกินไป)
2. Cash Ratio = เงินสดและเทียบเท่าเงินสด เกณฑ์ปกติ 0.8 เท่า หนี้สินที่ต้องชำระด้วยเงิน
แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด Cash Ratio จากกราฟ Cash Ratio มีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งทั้งเงินคงเหลือ และหนี้สินมีแนวโน้มสูงขึ้น แต่อัตราการเพิ่มของเงินคงเหลือเพิ่มในสัดส่วนมากกว่า ซึ่งเป็นแนวโน้มที่ดี
ประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติ • รพช.ท่าแพ • วิกฤติระดับ 1 ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านคือ NI (กำไรสุทธิ) • เกณฑ์ปกติจะต้องไม่ติดลบ
แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด NI จากงบการเงิน ด้านรายได้ ส่วนใหญ่จะใกล้เคียงกัน ที่แตกต่างจะเป็นส่วนที่ได้รับเงินงบประมาณจาก สสจ.เพื่อช่วยเหลือในการดำเนินงาน(ค่ายา) ด้านรายจ่าย ที่เพิ่มขึ้นได้แก่ วัสดุการแพทย์ วัสดุทั่วไป และค่าตอบแทน (ข้อสังเกต : ค่าใช้จ่ายมีแนวโน้มสูงขึ้นควรมีการกำหนดมาตรการควบคุมในระดับหน่วยบริการ
ประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติ • รพช.ละงู • วิกฤติระดับ 3 ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านคือ Current Ratio ,Cash Ratio และ NI (กำไรสุทธิ) • 1. Current Ratio = สินทรัพย์หมุนเวียน เกณฑ์ปกติ 1.5 เท่า • หนี้สินหมุนเวียน
แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด CR จากกราฟของ รพ.ละงู CR มีแนวโน้มดีขึ้น คือ ส/ท หมุนเวียน มีแนวโน้มดีขึ้น และหนี้สินหมุนเวียนมีแนวโน้มลดลง (กำกับดูแลให้ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด ควบคุมการสต็อกวัสดุทุกประเภท)
2. Quick Ratio = เงินสดและลูกหนี้ เกณฑ์ปกติ 1.0 เท่า หนี้สินที่หมุนเวียน
2. Cash Ratio = เงินสดและเทียบเท่าเงินสด เกณฑ์ปกติ 0.8 เท่า หนี้สินที่ต้องชำระด้วยเงิน
แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด Cash Ratio จากกราฟ จะเห็นว่าใน ไตรมาสที่ 4 หนี้สินมีจำนวนเพิ่มขึ้นในสัดส่วนที่มากพอสมควร ในขณะที่เงินคงเหลือมีจำนวนใกล้เคียงกับไตรมาสก่อน และจากงบการเงิน หนี้สินที่เพิ่มขึ้น คือ เจ้าหนี้ค่ายา และเจ้าหนี้วัสดุการแพทย์ เป็นข้อสังเกตว่า ในขณะที่ รพ.มีเงินเท่าเดิม แต่ รพ.ได้มีการตั้งหนี้เพิ่มขึ้นจำนวนมาก โดยที่เป็นข้อสังเกตว่า ได้มีการจัดซื้อเป็นไปตามแผนหรือไม่ และตรวจสอบการจัดซื้อ และการสต๊อกวัสดุต่างๆ