1 / 29

บทที่ 2 เวกเตอร์แรง

บทที่ 2 เวกเตอร์แรง. จุดประสงค์. แสดงการบวกแรง และการคำนวณองค์ประกอบแรงโดยใช้ Parallelogram Law แสดง แรงในลักษณะเวกเตอร์ การหาขนาดและทิศของแรง แสดงการ คูณแบบจุด เพื่อหามุมระหว่างสองเวกเตอร์. ปริมาณสเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์.

mandy
Download Presentation

บทที่ 2 เวกเตอร์แรง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 2 เวกเตอร์แรง

  2. จุดประสงค์ • แสดงการบวกแรง และการคำนวณองค์ประกอบแรงโดยใช้ Parallelogram Law • แสดง แรงในลักษณะเวกเตอร์ การหาขนาดและทิศของแรง • แสดงการ คูณแบบจุด เพื่อหามุมระหว่างสองเวกเตอร์

  3. ปริมาณสเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์ปริมาณสเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์ • ปริมาณสเกลาร์ คือปริมาณที่เกี่ยวข้องเฉพาะขนาด เช่น มวล ปริมาตร ความยาว โดยจะแสดงตัวแปรเป็นตัวเอียง เช่น A • ปริมาณเวกเตอร์ คือปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศ เช่น แรง โมเมนต์ การขจัด ความเร็ว ความเร่ง แสดงเป็นตัวหนา หรือมีลูกศรด้านบน เช่น A, เป็นเวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับ Aและสามารถแสดงเป็นรูปได้ ความยาวของลูกศร แสดงขนาด ทิศแสดงด้วยทิศของหัวลูกศร A 20o

  4. สเกลาร์ (Scalar) • สเกลาร์ (Scalar) คือ ปริมาณที่เกี่ยวข้องเฉพาะขนาด ได้แก่ • เวลา (t)second s • ปริมาตร (V) cubic meter m3 liter l • ความหนาแน่น ()kilograms per cubic meter kg/ m3 • อัตราเร็ว (V) meter per second m/s • พลังงาน (E) joule J • มวล (m) kilograms kg pound lb

  5. เวกเตอร์ (Vector) • เวกเตอร์ (Vector) คือปริมาณที่เกี่ยวข้องกับขนาดและทิศทาง ได้แก่ การขจัด (m), ความเร็ว (m/s), ความเร่ง (m/s2), แรง (N), โมเมนต์ (Nm) และโมเมนตัม (kgm/s) • ในทางฟิสิกส์นั้นเวกเตอร์แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ • เวกเตอร์อิสระ (Free vector) • เวกเตอร์เลื่อน (Sliding vector) • เวกเตอร์คงที่ (Fixed vector)

  6. เวกเตอร์อิสระ (Free Vector) • เป็นเวกเตอร์ที่มีตำแหน่งไม่แน่นอน ดังนั้นจึงเขียนได้เฉพาะขนาดและทิศทางเท่านั้น เช่น เวกเตอร์ของการขจัดของจุดทุกจุดบนวัตถุใด ๆ ซึ่งเคลื่อนที่โดยปราศจากการหมุน และเวกเตอร์ของแรงคู่ควบ

  7. เวกเตอร์เลื่อน (Sliding Vector) • เป็นเวกเตอร์ที่มีแนวแน่นอนตามแนวเส้นตรงหนึ่งในระวางที่ เช่น เวกเตอร์ของแรงภายนอกที่กระทำกับวัตถุเกร็ง

  8. เวกเตอร์คงที่ (Fixed Vector) • เป็นเวกเตอร์ที่มีแนวและตำแหน่งแน่นอน โดยมีจุดที่แสดงตำแหน่งเวกเตอร์ เช่น เวกเตอร์ของแรงที่กระทำกับวัตถุแปรรูป ทั้งนี้ถ้าเวกเตอร์เปลี่ยนตำแหน่งจะมีผลต่อการแปรรูปของวัตถุ ดังนั้นจึงต้องกำหนดตำแหน่งของเวกเตอร์ให้คงที่แน่นอน

  9. การคูณและหารเวกเตอร์ด้วยปริมาณสเกลาร์การคูณและหารเวกเตอร์ด้วยปริมาณสเกลาร์ ผลคูณของเวกเตอร์ A กับปริมาณสเกลาร์ aจะมีขนาดเท่ากับ |aA| = |a| |A| ถ้า aเป็นบวก เวกเตอร์ผลคูณจะมีทิศเดียวกับ A ถ้า aเป็นลบ เวกเตอร์ผลคูณจะมีทิศตรงข้ามกับ A -1.5A 2A 0.5A A

  10. การบวกเวกเตอร์ เวกเตอร Aสามารถบวกกับเวกเตอร์ Bได้เป็นเวกเตอร์ลัพธ์ R R = A + Bได้โดยใช้กฏการขนานกันของเวกเตอร์ A R=A+B A B B B A R=A+B

  11. การบวกเวกเตอร์ ถ้าเวกเตอร์ทั้งสองอยู่บนแนวเส้นตรงเดียวกัน เวกเตอร์ลัพธ์จะเท่ากับการบวกกันแบบสเกลาร์ A B R=A+B

  12. การแตกเวกเตอร์ลัพธ์ การแตกเวกเตอร์ลัพธ์ ออกเป็นองค์ประกอบของเวกเตอร์ เข้าแกนอ้างอิงใดๆ • ทำได้โดยใช้กฎการขนานกันของเวกเตอร์ a a R R b b A B

  13. การหาแรงลัพธ์ • แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทั้งขนาดและทิศทาง • เราสามารถรวมเวกเตอร์ หรือแตกเป็นองค์ประกอบเวกเตอร์ได้ โดยใช้หลักการคำนวณแบบเวกเตอร์ • ปัญหาในวิชา staticsหลักๆคือ การหาแรงลัพธ์ เมื่อทราบองค์ประกอบของแรง หรือการแตกแรงลัพธ์ที่ทราบค่าออกเป็นองค์ประกอบของแรง • การหาขนาดของแรง สามารถใช้กฏของโคไซน์ • ส่วนการหาทิศของแรง ใช้กฏของไซน์ c A B b a C

  14. Example F2 = 150N 10o • ขั้นตอนที่ 1 • ขั้นตอนที่ 2 หาขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์ หาทิศของเวกเตอร์ลัพธ์ • FRทำมุม 39.5o+15o=54.8oกับแกนนอน จงหาแรงลัพธ์ F1 = 100N 15o 150N • FR =212.6 N 10o FR 100N q 15o

  15. การบวกเวกเตอร์ใน2มิติการบวกเวกเตอร์ใน2มิติ • เราสามารถแตกแรงในระนาบออกเป็นสองแรงที่ตั้งฉากกัน (แกน x, แกน y) โดยแสดงในลักษณะที่แยกเป็น • ส่วนที่เป็นสเกลาร์ (Fx, Fy) • ส่วนที่เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วย i, j ทำให้การบวก ลบ เวกเตอร์ทำได้ง่ายขึ้น เช่น F1 = F1x i+ F1y j F2 = F2x i+ F2y j F3 = F3x i+ F3y j F = Fxi+ Fyj FR = F1 + F2 + F3 = (F1x+F2x+F3x)i + (F1y+F2y+F3y)j = (FRx)i + (FRy) j

  16. การบวกเวกเตอร์ใน2มิติการบวกเวกเตอร์ใน2มิติ

  17. Example y • ขั้นตอนที่ 1 • ขั้นตอนที่ 2 FRx = 600 cos 30oN – 400 sin 45oN = 236.8 N FRy = 600 sin 30oN + 400 cos 45oN = 582.8 N จงหาแรงลัพธ์ F1 = 600N F2 = 400N 45o 30o x F2 = 400N F1 = 600N 45o + 30o +

  18. Example • ขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์ = 629 N • ทิศของเวกเตอร์ลัพธ์ • หรือแสดงในรูป FR = F1 + F2 = (600 cos30oN – 400 sin45oN) i + (600 sin30oN + 400 cos45oN)j = {(236.8)i + (582.8) j} N

  19. การบวกเวกเตอร์ใน3มิติการบวกเวกเตอร์ใน3มิติ • ระบบแกนในสามมิติ (cartesian coordinate system) จะเป็นไปตามกฏมือขวา z Azk A g Ax i a b x Ay j y

  20. การบวกเวกเตอร์ใน3มิติการบวกเวกเตอร์ใน3มิติ เวกเตอร์หนึ่งหนวยของA คือ การบวกเวกเตอร์ใน3มิติ

  21. Example FR = F1+ F2 = {60j+80k} kN + {50i -100j+100k} kN = {50i-40j+180k} kN z F1 = {60j+80k} kN F2 = {50i -100j+100k} kN y x

  22. Example • cosa = 0.2617 • cosb = -0.2094 • cosg = 0.9422 • = 74.8o • b = 102o • g = 19.6o = 191.0 = 191 N

  23. เวกเตอร์บอกตำแหน่ง • เป็นเวกเตอร์ที่ใช้บอกตำแหน่งของจุดใดๆใน space ที่สัมพันธ์กับจุดอื่น หรือจุดอ้างอิง เช่น ในระบบพิกัดที่มีจุดกำเนิด Oมีตำแหน่ง P(x,y,z) ใน space จะสามารถบอกได้ด้วยเวกเตอร์บอกตำแหน่ง r = xi + yj + zk • ในกรณีทั่วไป เวกเตอร์บอกตำแหน่ง สามารถบอกตำแหน่งจากจุด A ไปยังจุด B ได้ โดย rAB = rB – rA • เมื่อrAและ rBคือเวกเตอร์บอกตำแหน่ง ของจุด A และ จุด B เมื่อเทียบกับจุดกำเนิด rA = xAi + yAj + zAk rB = xBi + yBj + zBk rAB = (xB-xA) i+ (yB-yA) j + (zB-zA) k

  24. การคูณแบบจุด (dot product) เมื่อ qเป็นมุมระหว่าง AกับB

  25. การดอตเวกเตอร์ (Dot product) • Dot product of Cartesian unit vectorsยกตัวอย่างเช่นii = (1)(1)cos(0o) = 1ij = (1)(1)cos(90o) = 0 • จึงสรุปได้ว่าii=jj=kk= 1ij=ik=jk= 0 • Dot product of 2 vectors A and B AB = (Axi + Ayj + Azk)·(Bxi + Byj + Bzk) = AxBx(i·i) + AxBy(i·j) + AxBz(i·k) + AyBx(j·i) + AyBy(j·j) + AyBz(j·k) + AzBx(k·i) + AzBy(k·j) + AzBz(k·k) = AxBx+ AyBy + AzBz

  26. ตัวอย่าง • กำหนดให้ A = -i - 2j + 3k และ B = 4i - 5j + 6kจงหา ABและ มุมระหว่าง Aและ B • AB = (-i - 2j + 3k)(4i - 5j + 6k) = (-1)(4) + (-2)(-5) + (3)(6) = -4 + 10 + 18 = 24 Ans • จาก AB = AB cos 24 = (3.74)(8.77)cos = cos-1(0.73) = 43.11oAns

  27. แบบฝึกหัด • จงหามุมระหว่างสองเวกเตอร์

  28. ตัวอย่าง จงหาองค์ประกอบของ FABในแนว AC วิธีทำ FAC =FAB  uC

  29. FAC =FAB  uC

More Related