1 / 14

การกำหนดเขตดำเนินการระบบขนส่งมวลชนและเขตปลอดภัยระบบรถไฟฟ้าตามโครงการรถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล

การกำหนดเขตดำเนินการระบบขนส่งมวลชนและเขตปลอดภัยระบบรถไฟฟ้าตามโครงการรถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล Determination of Right of way and Protection Zone of MRT. Initial System Project, Chaloem Ratchamonkhon Line.

mandek
Download Presentation

การกำหนดเขตดำเนินการระบบขนส่งมวลชนและเขตปลอดภัยระบบรถไฟฟ้าตามโครงการรถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การกำหนดเขตดำเนินการระบบขนส่งมวลชนและเขตปลอดภัยระบบรถไฟฟ้าตามโครงการรถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคลการกำหนดเขตดำเนินการระบบขนส่งมวลชนและเขตปลอดภัยระบบรถไฟฟ้าตามโครงการรถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล Determination of Right of way and Protection Zone of MRT. Initial System Project, ChaloemRatchamonkhon Line

  2. โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล เป็นโครงการรถไฟฟ้าใต้ดินสายแรกของประเทศไทย โครงการนี้เกิดขึ้นโดยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยมีการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นเจ้าของโครงการและผู้ให้สัมปทาน มีหน้าที่จัดสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และมอบสัมปทานการเดินรถให้แก่เอกชน คือ บริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีเอ็มซีแอล เป็นผู้ให้บริการการเดินรถ โดยเริ่มเปิดการเดินรถโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2547 เพื่อเป็นการคุ้มครองความปลอดภัยของโครงสร้างใต้ดิน เช่น อุโมงค์ สถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ทางขึ้นลงของผู้โดยสาร อาคารระบายอากาศ เป็นต้น จึงได้มีการกำหนดมาตรการทางกฎหมายเพื่อประโยชน์ในการบำรุงรักษาและความปลอดภัยของบุคคลที่อยู่ในเขตระบบรถไฟฟ้าและคุ้มครองความปลอดภัยให้แก่โครงสร้างใต้ดิน อันเนื่องมาจากการกระทำใด ๆ ซึ่งอยู่ภายในบริเวณเขตที่จะมีผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของโครงสร้างใต้ดิน (Influence Area)

  3. โดยมาตรการคุ้มครองความปลอดภัยฯ ดังกล่าว ประกอบด้วย • 1. การรักษาความปลอดภัยโครงสร้างใต้ดินส่วนที่อยู่ภายใน "เขตดำเนินการระบบขนส่งมวลชน " (Right of Way) การก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าใต้ดินตามโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล จะกระทำในบริเวณ "เขตดำเนินการระบบขนส่งมวลชน" (Right of Way) ซึ่งการก่อสร้างบางส่วนอาจจะกระทำบนผิวดิน เช่น ทางขึ้น-ลงผู้โดยสาร (Entrance Building) อาคารระบายอากาศ และทางออกฉุกเฉิน (Ventilation Building) และบางส่วนกระทำใต้ดิน เช่น สถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน อุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดิน เป็นต้น • 2. การรักษาความปลอดภัยโครงสร้างใต้ดินส่วนที่อยู่ภายใน “เขตปลอดภัยระบบรถไฟฟ้า” (Protection Zone) นอกจากจะได้มีการกำหนดมาตรการการรักษาความปลอดภัยโครงสร้างใต้ดินส่วนที่อยู่ใน “เขตดำเนินการระบบขนส่งมวลชน” (Right of Way) แล้ว ยังได้มีการกำหนดกลไกในการรักษาความปลอดภัยแก่โครงสร้างใต้ดินส่วนที่อยู่ภายใน “เขตปลอดภัยระบบรถไฟฟ้า” (Protection Zone) ด้วย ถึงแม้ว่าที่ดินในบริเวณเขตปลอดภัยจะยังคงเป็นกรรมสิทธิ์ของเจ้าของที่ดิน และเจ้าของที่ดินสามารถดำเนินการใดๆ และก่อสร้างอาคารบริเวณดังกล่าวได้ แต่ต้องไม่ทำให้การดำเนินการนั้นๆ เป็นอันตรายหรืออุปสรรคต่อระบบขนส่งมวลชน

  4. ตราพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะดำเนินการเพื่อกิจการขนส่งมวลชนตราพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะดำเนินการเพื่อกิจการขนส่งมวลชน ที่ดินกรรมสิทธิ์ ของเอกชน ที่ดินของรัฐ ที่สาธารณะ ฯลฯ ต้องการกรรมสิทธิ์ ไม่ต้องการกรรมสิทธิ์ เวนคืน กำหนดภาระในอสังหาริมทรัพย์ พรบ.ว่าด้วยการ เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 พรบ.ว่าด้วยการ จัดหาอสังหาริมทรัพย์เพื่อกิจการขนส่งมวลชน พ.ศ. 2540 พรบ.ว่าด้วยการ จัดหาอสังหาริมทรัพย์เพื่อกิจการขนส่งมวลชน พ.ศ. 2540 (มาตรา11)

  5. ขุดเปิดหน้าดินเฉพาะทางขึ้นลงขุดเปิดหน้าดินเฉพาะทางขึ้นลง ก่อสร้างโดยไม่เปิดหน้าดิน (Mining Method)

  6. ROW. ROW.

  7. Q&A

  8. ขอบคุณครับ

More Related