1 / 134

หน่วยที่ 6 เวกเตอร์ และการประยุกต์

หน่วยที่ 6 เวกเตอร์ และการประยุกต์. เวกเตอร์เชิงเรขาคณิตและ การดำเนินการเบื้องต้น. เวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก. การคูณเชิงเวกเตอร์. เวกเตอร์. ปริมาณสเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์. ปริมาณทางกายภาพ ที่สามารถระบุขนาดหรือจำนวนหน่วยของปริมาณด้วยจำนวนจริงจำนวนหนึ่ง เรียกว่า ปริมาณสเกลาร์.

mala
Download Presentation

หน่วยที่ 6 เวกเตอร์ และการประยุกต์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 6เวกเตอร์ และการประยุกต์ • เวกเตอร์เชิงเรขาคณิตและ การดำเนินการเบื้องต้น • เวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก • การคูณเชิงเวกเตอร์

  2. เวกเตอร์ ปริมาณสเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์ ปริมาณทางกายภาพที่สามารถระบุขนาดหรือจำนวนหน่วยของปริมาณด้วยจำนวนจริงจำนวนหนึ่ง เรียกว่า ปริมาณสเกลาร์

  3. สำหรับปริมาณทางกายภาพอีกประเภทหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับทั้งขนาดและทิศทาง เรียกว่า ปริมาณเวกเตอร์

  4. ในเชิงเรขาคณิตแทนปริมาณเวกเตอร์ด้วยสัญลักษณ์ที่เป็นส่วนของเส้นตรงที่มีหัวลูกศรในเชิงเรขาคณิตแทนปริมาณเวกเตอร์ด้วยสัญลักษณ์ที่เป็นส่วนของเส้นตรงที่มีหัวลูกศร โดยใช้ความยาวของส่วนของเส้นตรง ซึ่งมีความยาวจำกัดแทนขนาด ใช้หัวลูกศรชี้บอกทิศทาง เรียกสัญลักษณ์ดังกล่าวว่า เวกเตอร์เชิงเรขาคณิต

  5. เพื่อให้การกล่าวถึงเวกเตอร์เชิงเรขาคณิตมีความชัดเจน จะระบุจุดสองจุด จุดหนึ่งเป็นจุดเริ่มต้น อีกจุดหนึ่งเป็นจุดปลาย เช่น A เป็นจุดเริ่มต้น B เป็นจุดปลายของเวกเตอร์ B A

  6. B A ความยาวของ แทนขนาดของด้วย เวกเตอร์ AB แทนด้วย

  7. B D R F Q P A C E S การเท่ากันของเวกเตอร์ บทนิยามเวกเตอร์เชิงเรขาคณิตสองเวกเตอร์เท่ากัน ก็ต่อเมื่อ เวกเตอร์ทั้งสองมีขนาดเท่ากัน และมีทิศทางเดียวกัน

  8. = มีขนาดเท่ากันและทิศทางเดียวกัน  มีทิศทางเดียวกัน แต่ขนาดไม่เท่ากัน มีขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงข้ามกัน  B D R F Q P A C E S มีขนาดและทิศทางต่างกัน 

  9. บทนิยามเวกเตอร์ที่มีจุดเริ่มต้น และจุดปลายเป็นจุดเดียวกัน เรียกว่าเวกเตอร์ศูนย์ แทนด้วย เป็นเวกเตอร์ที่มีขนาด 0 โดยทั่วไปจะไม่กล่าวถึงทิศทางของ ถ้าจะกล่าวถึงให้ถือว่ามีทิศทางใดก็ได้ เวกเตอร์ศูนย์

  10. B D R F Q P A C E S การขนานกันของเวกเตอร์ เวกเตอร์สองเวกเตอร์ขนานกันก็ต่อเมื่อมีทิศทางเดียวกัน หรือมีทิศทางตรงข้ามกัน

  11. และ // // , และ มีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงข้ามกัน ใช้สัญลักษณ์ // , B B D R F A A C E S

  12. ถ้า เป็นเวกเตอร์เชิงเรขาคณิตใดๆ จะแทนเวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากันกับ แต่มีทิศทางตรงข้ามกับ ด้วย B B A A

  13. A B 40 เมตร ถ้าวัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จากจุด A ไปถึงจุด B เป็นระยะทาง 40 เมตร

  14. C 30 เมตร A B 40 เมตร ถ้าวัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จากจุด A ไปถึงจุด B เป็นระยะทาง 40 เมตร แล้วเคลื่อนที่จากจุด B ไปจุด C ในแนวตั้งฉากกับ AB เป็นระยะทาง 30 เมตร B

  15. C 30 เมตร A B 40 เมตร 50 เมตร ถ้าวัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จากจุด A ไปถึงจุด B เป็นระยะทาง 40 เมตร แล้วเคลื่อนที่จากจุด B ไปจุด C ในแนวตั้งฉากกับ AB เป็นระยะทาง 30 เมตร ผลลัพธ์จากการเคลื่อนที่ทั้งสองครั้งนี้เท่ากับการที่วัตถุเคลื่อนที่จากจุด A ไปถึงจุด C เป็นระยะทาง 50 เมตร

  16. C 30 เมตร A B 40 เมตร 50 เมตร การเคลื่อนที่ของวัตถุนี้เป็นเป็นปริมาณที่สามารถใช้เวกเตอร์เชิงเรขาคณิตแทนได้ ให้ , และ แทนการเคลื่อนที่จากจุด A ไปถึงจุด B จากจุด B ไปถึงจุด C และจากจุด A ไปถึงจุด C ตามลำดับ

  17. C 30 เมตร A B 40 เมตร 50 เมตร เรียก ว่า ผลรวม หรือผลบวกของ และ ใช้สัญลักษณ์ = + = = 50 เมตร

  18. ชายสองคนต้องการเคลื่อนที่เรือ (Q) ในคลองที่ตื้นเขิน ทั้งสองคนอยู่บนฝั่งเดียวกัน คนหนึ่ง (R) ลากจูงเรือด้วยการดึงเชือกแล้วเดินไปข้างหน้า อีกคน (P) ใช้ไม้ถ่อค้ำเรือให้เดินหน้า และไม่ให้เรือเข้ามากระทบฝั่ง ผลของการใช้แรงกระทำกับเรือของทั้งสองคนทำให้เรือแล่นไปข้างหน้าตามลำคลอง

  19. Q S R P แทน แรงที่ชายคนหนึ่งผลักดันเรือ แทน แรงที่ชายอีกคนหนึ่งฉุดดึงเรือ แทน แรงที่เป็นผลรวมของแรงที่ทำให้เรือ แล่นไปข้างหน้า

  20. A Q S C O R P B กล่าวคือ ให้ = , = และ = เขียนแผนภาพใหม่ โดยให้แรงที่กระทำกับเรือมีจุดเริ่มต้นที่เดียวกัน

  21. จะได้ว่า OACB เป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน โดยมีส่วนของเส้นตรง OC เป็นเส้นทะแยงมุมจะได้ A C O B ดังนั้น = จะได้ = + = + ผลบวกนี้เป็นไปตามกฎสี่เหลี่ยมด้านขนาน

  22. ถ้า และ เป็นเวกเตอร์เชิงเรขาคณิต ที่มีจุดเริ่มต้นเป็นจุดเดียวกัน คือที่จุด O A C O B กฏสี่เหลี่ยมด้านขนานของการบวกเวกเตอร์ สร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน OACB โดยมีส่วนของเส้นตรง OC เป็นเส้นทะแยงมุม

  23. ผลบวกของ และ เท่ากับเวกเตอร์ผลลัพธ์ เขียนแทนด้วย + = ผลบวกนี้เป็นไปตามกฏสี่เหลี่ยมด้านขนาน A C O B

  24. จะเห็นว่า มีจุดเริ่มต้นที่จุดปลายของ เวกเตอร์ผลลัพธ์ มีจุดเริ่มต้นเดียวกันกับ และมีจุดปลายเดียวกันกับ A C O B ด้านตรงข้ามของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานมีความยาวเท่ากัน และขนานกันดังนั้น = จะได้ + =

  25. บทนิยามถ้า และ เป็นเวกเตอร์เชิงเรขาคณิตใดๆ ผลบวกของ และ เขียนแทนด้วย เป็นเวกเตอร์ที่มีจุดเริ่มต้นที่จุด A และมีจุดปลายที่จุด E โดยมีการสร้าง ดังรูปต่อไป D A C B การบวกเวกเตอร์

  26. เมื่อสร้าง = จะได้ + = + = D A C B E

  27. F D E C B A จงหาผลบวกของ , และ หรือหา + + จากรูปที่กำหนดให้

  28. 1. ที่จุด B บน สร้าง = F Q D P E C B A 2. ที่จุด P บน สร้าง = จะได้ + + = + + = เป็นเวกเตอร์ผลลัพธ์

  29. B B C C C A A D D D + จากรูปที่กำหนดให้ จงหา +

  30. B B B C C A A A จงหา + D D + จากรูปที่กำหนดให้

  31. บทนิยาม ถ้า เป็นเวกเตอร์ใดๆ และ n เป็นสเกลาร์ 1. ถ้า n0 และ แล้ว มีทิศทางเดียวกันกับ 2. ถ้า n0 และ แล้ว มีทิศทางตรงข้ามกับ 3. ถ้า n=0 แล้ว 4. ขนาดของ เท่ากับเมื่อ n คือ ค่าสัมบูรณ์ของ n การคูณสเกลาร์กับเวกเตอร์

  32. กำหนด ดังรูป จงหาเวกเตอร์ และ

  33. ถ้า และ เป็นเวกเตอร์ใดๆ m และ n เป็นสเกลาร์ 1. (0) = 2. (1) = 3. m(n ) =(mn) 4. (m + n) =m + n 5. m( + ) =m + m สมบัติเบื้องต้นของการคูณสเกลาร์กับเวกเตอร์

  34. บทนิยามถ้า และ เป็นเวกเตอร์ใดๆ ที่ไม่เป็นเวกเตอร์ศูนย์ ขนานกับ เขียนแทนด้วย// ก็ต่อเมื่อ มีสเกลาร์ m  0ที่ทำให้ การขนานกันของเวกเตอร์

  35. ถ้า เป็นเวกเตอร์ใดๆ ที่ไมเป็นศูนย์จะได้ว่า เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วย ที่มีทิศทางเดียวกับ เวกเตอร์หนึ่งหน่วย บทนิยามเวกเตอร์ที่มีขนาดหนึ่งหน่วย เรียกว่าเวกเตอร์หนึ่งหน่วย

  36. เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่มี ทิศทางเดียวกับ

  37. บทนิยามถ้า และ เป็นเวกเตอร์ใดๆ ผลต่างของ กับ เขียนแทนด้วย - หมายถึง+ + = - ผลต่างของเวกเตอร์

  38. เราอาจหาเวกเตอร์ผลต่าง และได้ง่ายๆ โดยใช้แผนภาพที่มีจุดเริ่มต้นของเวกเตอร์ทั้งสองเป็นจุดเดียวกัน

  39. ถ้า , และ เป็นเวกเตอร์ใดๆ m และ n เป็นสเกลาร์ 1. 2. สมบัติเบื้องต้นของการบวกเวกเตอร์ สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม

  40. 3. 4. 5. สมบัติการแจกแจง สมบัติการมีเอกลักษณ์ของการบวก สมบัติการมีอินเวอร์สของการบวก

  41. บทนิยามผลคูณสเกลาร์(scalar product หรือ dot product) ของเวกเตอร์และ เขียนแทนด้วยกำหนดดังนี้เมื่อ  เป็นมุมระหว่าง และ โดยที่ 0   180 การคูณเชิงสเกลาร์ของเวกเตอร์

  42. ด้านตรงข้ามมุมฉาก ด้านตรงข้ามมุม   ด้านประชิดมุม  พิจารณารูปสามเหลี่ยมมุมฉาก cos 0= 1 cos 90= 0

  43. กำหนดจุด M(8, 6) และ N(11, 0) บนระนาบในระบบพิกัดฉาก จงหา y M(8, 6) N(11, 0)  X O

  44. จากรูป จะได้ Y N(11, 0)  X O P M(8, 6) 10 หน่วย 6 หน่วย 8 หน่วย

  45. ถ้า , และ เป็นเวกเตอร์ใดๆ m และ n เป็นสเกลาร์ 1. สมบัติการสลับที่ 2. สมบัติการแจกแจง 3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม 4. กำลังสองของขนาดของเวกเตอร์ 5. อสมการของโคชี-ชวาร์ช 6. อสมการสามเหลี่ยม สมบัติเบื้องต้นของผลคูณเชิงสเกลาร์

  46. บทนิยามถ้า และ ตั้งฉากกันก็ต่อเมื่อ มุมระหว่างเวกเตอร์ทั้งสองมีขนาดเท่ากับหนึ่งมุมฉาก หรือ 90 องศา ถ้า และ เป็นเวกเตอร์ใดๆ ที่ไม่ใช่เวกเตอร์ศูนย์ ตั้งฉากกับ ก็ต่อเมื่อ การตั้งฉากกันของเวกเตอร์

  47. บทนิยามเวกเตอร์ คือคู่อันดับ (a, b) เขียนแทนด้วย เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริง เรียก aว่าองค์ประกอบที่หนึ่ง และเรียก b ว่าองค์ประกอบที่สอง เวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก เวกเตอร์ในระบบพิกัดฉากสองมิติ

  48. ในเชิงเรขาคณิต สามารถแทนเวกเตอร์ซึ่งมีจุดเริ่มต้นที่จุด O(0, 0) และมีจุดปลายที่ A(a, b) ด้วย Y A(a, b) b O X a สำหรับเวกเตอร์ศูนย์ใน R2 เป็นเวกเตอร์ที่ทั้งสององค์ประกอบเป็น 0 กล่าวคือ

  49. กำหนด จงหา ขนาดของเวกเตอร์ บทนิยามเมื่อ เป็นเวกเตอร์ใน R2ขนาดของ กำหนดดังนี้

  50. บทนิยามเมื่อ และ เป็นเวกเตอร์ใน R2กล่าวว่า ก็ต่อเมื่อ a1= a2และ b1= b2 การเท่ากันของเวกเตอร์

More Related