1 / 84

โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล

โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล. โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล. คำจำกัดความ * โรคติดเชื้อที่เกิดจากการได้รับเชื้อขณะที่ผู้ป่วยได้รับการตรวจ และ/หรือได้รับการรักษาในโรงพยาบาล * การติดเชื้อของบุคลากรจากการปฏิบัติงานในโรงพยาบาล * อาการของผู้ป่วยอาจจะเกิดขึ้นขณะที่อยู่ในโรงพยาบาลหรือ

makaio
Download Presentation

โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคติดเชื้อในโรงพยาบาลโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล

  2. โรคติดเชื้อในโรงพยาบาลโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล คำจำกัดความ * โรคติดเชื้อที่เกิดจากการได้รับเชื้อขณะที่ผู้ป่วยได้รับการตรวจ และ/หรือได้รับการรักษาในโรงพยาบาล * การติดเชื้อของบุคลากรจากการปฏิบัติงานในโรงพยาบาล * อาการของผู้ป่วยอาจจะเกิดขึ้นขณะที่อยู่ในโรงพยาบาลหรือ ออกจากโรงพยาบาลไปแล้ว

  3. ความชุกของการติดเชื้อในโรงพยาบาลความชุกของการติดเชื้อในโรงพยาบาล ปีพ.ศ. จำนวนโรงพยาบาล ความชุก 2531 23 11.7 2535 33 7.3 2541 44 7.6 2543 44 7.8 2544 42 6.4

  4. * ความเจ็บป่วยมากขึ้น * อัตราตาย * อยู่โรงพยาบาลนานขึ้น * เสียค่าใช้จ่าย * บุคลากรได้รับเชื้อ * การแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาสู่ชุมชน ผลกระทบของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล

  5. ผลกระทบของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลผลกระทบของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล ระยะเวลาที่อยู่โรงพยาบาลนานขึ้น ตามตำแหน่งติดเชื้อ (วัน) UTI 10.05 (1-31) Skin 10.98 (1-33) Prim.Bact. 11.61 (1-31) LRI 12.46 (1-55) SSI 12.47 (1-40)

  6. ค่ายาต้านจุลชีพสำหรับ N.I. (บาท) เฉลี่ยต่อการติดเชื้อ 1 ตำแหน่ง 5,919.47 LRI 9,891.64 Prim. Bact. 6,249.12 SSI 4,543.82 UTI 4,713.69 Skin 4,613.69 Other 2,799.35 เฉลี่ยต่อการติดเชื้อ 2 ตำแหน่ง 14,599.14 3 ตำแหน่ง 16,246.20 4 ตำแหน่ง 26,558.50

  7. ปัจจัยชักนำการติดเชื้อในโรงพยาบาลปัจจัยชักนำการติดเชื้อในโรงพยาบาล * อยู่อย่างแออัด * มีแหล่งเชื้อโรค * ภูมิต้านทานโรคต่ำ * การรักษาบางอย่าง

  8. เป้าหมายการควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลเป้าหมายการควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล * ลดอัตราการติดเชื้อ * ลดค่าใช้จ่าย * เพิ่มความปลอดภัย * เพิ่มขวัญกำลังใจ * เพิ่มความคล่องตัว

  9. การรักษาที่ทำให้เกิดการติดเชื้อการรักษาที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ * การสวนปัสสาวะ * การผ่าตัด * การช่วยหายใจ * การให้สารน้ำเข้าหลอดเลือด * การทำแผล * การฉีดยา การเจาะเลือด ฯลฯ

  10. หลักการควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลหลักการควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล 1. การกำจัดแหล่งของเชื้อโรค 2. การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้แก่ผู้ป่วย 3. การลดการนำเชื้อโรคสู่ผู้ป่วย 4. สิ่งแวดล้อม 5. การทำลายเชื้อและการทำให้ปลอดเชื้อ 6. การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้อง 7. การเฝ้าระวังโรค

  11. โรคติดเชื้อในโรงพยาบาลโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล (Nosocomial Infection) โรคติดเชื้อที่พบประจำ (Endemic) โรคติดเชื้อที่มีการระบาด (Epidemic)

  12. การเฝ้าระวังโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล การติดตามการเกิดและการแพร่ กระจายของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล ซึ่งสามารถป้องกันได้

  13. การเฝ้าระวังโรค : วัตถุประสงค์ (1) 1. เพื่อลดอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล 2. เพื่อหาอัตราการติดเชื้อที่เป็นพื้นฐาน โรคติดเชื้อที่พบได้ประจำ (endemic) 3. เพื่อค้นหาการระบาดของโรค 4. แพทย์ พยาบาลและผู้บริหารตระหนักถึงความสำคัญ 5. ใช้ประเมินโครงการหรือวิธีควบคุมโรคติดเชื้อ ในโรงพยาบาล

  14. การเฝ้าระวังโรค : วัตถุประสงค์ (2) 6. เพื่อกระตุ้นและกวดขันทางอ้อมให้บุคลากร ปฏิบัติอย่างถูกต้อง 7. แสดงมาตรฐานของการรักษา 8. ป้องกันการฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย 9. ด้านการวิจัย การเฝ้าระวังโรคจะช่วย ประเมินผลโครงการ กรรมวิธีต่าง ๆ

  15. การเฝ้าระวังโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล • การเฝ้าระวังโรคอย่างต่อเนื่อง • (อัตราอุบัติการ) • การเฝ้าระวังโรคเฉพาะการณ์ • (อัตราความชุก)

  16. การเฝ้าระวังโรคอย่างต่อเนื่องการเฝ้าระวังโรคอย่างต่อเนื่อง กระทำติดต่อกันตั้งแต่ผู้ป่วยเข้า รับการรักษา - ออกจากโรงพยาบาล

  17. การเฝ้าระวังโรคอย่างต่อเนื่องการเฝ้าระวังโรคอย่างต่อเนื่อง ข้อดี * การตรวจสอบการระบาดของโรคติดเชื้อ * การกระตุ้นเตือนบุคลากร ข้อเสีย * ใช้เวลาและแรงงานมาก

  18. การเฝ้าระวังโรคเฉพาะการณ์การเฝ้าระวังโรคเฉพาะการณ์ * การสำรวจหาโรคติดเชื้อที่ยังเป็นปัญหาอยุ่ (active infection) 1. ความชุกของโรคในช่วงระยะเวลาที่กำหนด (Period prevalence) 2. ความชุกของโรคในจุดเวลาที่กำหนด (Point prevalence)

  19. การเฝ้าระวังโรคเฉพาะการณ์การเฝ้าระวังโรคเฉพาะการณ์ ข้อดี * ทำได้ง่าย * ระยะเวลาสั้น ข้อเสีย * ไม่ทราบหากเกิดการระบาดของโรคติดเชื้อ

  20. การเฝ้าระวังโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล • การกำหนดนิยาม • วัตถุประสงค์ • การรวบรวมข้อมูล • การวิเคราะห์ข้อมูล • การแปลความหมายข้อมูล • การรายงานผล • การปฏิบัติเพื่อควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล

  21. การกำหนดนิยาม * เกณฑ์ในการวินิจฉัยการติดเชื้อ ในโรงพยาบาล * จำแนกชนิดของการติดเชื้อ ตามตำแหน่งที่ติดเชื้อ

  22. วัตถุประสงค์ : ชัดเจน - ข้อมูลที่สำรวจควรจะมีรายการน้อย - ข้อมูลครอบคลุมและเป็นประโยชน์ * ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อ * ตำแหน่งการติดเชื้อ * เชื้อโรคที่เป็นสาเหตุ * แผนกที่ผู้ป่วยติดเชื้อ * ยาปฏิชีวนะ

  23. การรวบรวมข้อมูล แบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล ข้อมูล* ชื่อ - สกุล ผู้ป่วย * เพศ, อายุ, HN * แผนก, โรคเดิมของผู้ป่วย * วันที่รับไว้-ออกจากรพ. * ตำแหน่งการติดเชื้อ * เชื้อที่เป็นสาเหตุ * ยาต้านจุลชีพ * ปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ

  24. วิธีการหาข้อมูล โดยอาศัย ข้อมูลทางห้องปฏิบัติการเป็นฐาน ข้อมูลทางคลินิกเป็นฐาน

  25. ข้อมูลทางห้องปฏิบัติการเป็นฐานข้อมูลทางห้องปฏิบัติการเป็นฐาน * สำรวจรายงานผลการตรวจทางจุลชีววิทยา เกี่ยวกับสิ่งส่งตรวจเชื้อโรคที่พบ เพื่อ ประกอบการวิเคราะห์โรคทางคลินิกต่อไป

  26. ข้อมูลทางห้องปฏิบัติการเป็นฐานข้อมูลทางห้องปฏิบัติการเป็นฐาน • ข้อดี • การตรวจสอบการระบาดของโรคติดเชื้อ • การตรวจสอบโรคติดเชื้อที่ไม่แสดงอาการ • ประหยัดเวลา • ข้อเสีย • ความถูกต้องของข้อมูลขึ้นกับ • - จำนวนของสิ่งส่งตรวจ • - คุณภาพของห้องปฏิบัติการ • - วินิจฉัยการติดเชื้อไวรัสไม่ได้ • การติดเชื้อบางตำแหน่งวินิจฉัยโดยอาการเป็นหลัก

  27. ข้อมูลทางคลินิกเป็นฐานข้อมูลทางคลินิกเป็นฐาน : การตรวจสอบรายงานผู้ป่วยในหอผู้ป่วย เพื่อ หาข้อมูลที่เป็นเครื่องบ่งชี้ว่าติดเชื้อ

  28. ข้อมูลทางคลินิกเป็นฐานข้อมูลทางคลินิกเป็นฐาน ข้อดี - การวินิจฉัยโรคติดเชื้อในรพ.ได้ถูกต้อง - มีโอกาสติดตามการดำเนินของโรค - สามารถให้คำปรึกษาได้เหมาะสม ข้อเสีย - เสียเวลา - หาเวลาเพื่อการดูแลผู้ป่วยได้ยาก - อาจไม่ทราบว่ามีการระบาด

  29. ขอบเขตของการเฝ้าระวังขอบเขตของการเฝ้าระวัง 1. เฝ้าระวังทั้งโรงพยาบาล (hospital, house wide or comprehensive surveillance) 2. เฝ้าระวังเฉพาะที่เป็นเป้าหมาย (focused or targeted surveillance)

  30. ขอบเขตของการเฝ้าระวังขอบเขตของการเฝ้าระวัง 1. เฝ้าระวังทั้งโรงพยาบาล ( hospital wide or comprehensive surveillance) ข้อดี : ทราบอัตราการติดเชื้ออย่างแท้จริง : ทราบสถานการณ์การระบาด ข้อเสีย : เปลืองเวลาและกำลังคน : ทำให้ครอบคลุมได้ยาก

  31. ขอบเขตของการเฝ้าระวังขอบเขตของการเฝ้าระวัง 2. เฝ้าระวังเฉพาะที่เป็นเป้าหมาย ( focused or targeted surveillance ) ข้อดี : ทราบอัตราการติดเชื้อในกล่มเป้าหมาย : ทราบสถานการณ์จริงในกลุ่มเป้าหมาย : ประหยัดเวลา ข้อเสีย : ทราบเพียงสถานการณ์ของกลุ่มเป้าหมาย : ไม่ทราบปัญหาการระบาดของทั้งโรงพยาบาล

  32. ขอบเขตของการเฝ้าระวังขอบเขตของการเฝ้าระวัง 2. เฝ้าระวังเฉพาะที่เป็นเป้าหมาย ( focused or targeted surveillance ) แบ่งออกเป็น 1. Unit directed surveillance 2. Rotating surveillance 3. Priority directed surveillance

  33. Unit directed surveillance เลือกทำเฉพาะหน่วยงานที่มีความเสี่ยงสูง เช่นหออภิบาล Rotating surveillance หมุนเวียนทำในหอผู้ป่วย หรือแผนกต่างๆ Priority directed surveillance เลือกทำตามความสำคัญของปัญหาที่พบ เช่น เลือกทำตามตำแหน่งที่มีการติดเชื้อสูง เช่น UTI หรือ LRI

  34. การวิเคราะห์ข้อมูล - วัน - สัปดาห์ - เดือน - ปี

  35. อัตราการเกิดโรค 1.1 อัตราส่วนการติดเชื้อ (Infection ratio) คือ อัตรา ตำแหน่งของการติดเชื้อที่เกิดขึ้นใหม่ ในระยะเวลาที่ กำหนดต่อจำนวนผู้ป่วย Infection ratio = No of infections No. patients at risk

  36. อัตราการเกิดโรค 1.2 อัตราส่วนการติดเชื้อ (Infection proportion) คือ อัตราของผู้ป่วยที่ติดเชื้อที่เกิดขึ้นใหม่ในระยะเวลาที่ กำหนดต่อจำนวนผู้ป่วยทั้งหมดในกลุ่มนั้น Infection proportion = No. patients with N.I. No. patients at risk

  37. อัตราการเกิดโรค 1.3 ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อมาเปรียบเทียบ ความหนาแน่นของอุบัติการ (Incidence density) Incidence Density = No. N.I. Sum(patient x admission day) = No. N.I. Sum (patient x device - days)

  38. อัตราการชุกโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลอัตราการชุกโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล 1.4 ขนาดของปัญหาโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล (%) อัตราชุก = จำนวนครั้งของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล (เก่า+ใหม่) x 100 จำนวนผู้ป่วยที่สำรวจทั้งหมด

  39. โรคติดเชื้อในโรงพยาบาลที่พบบ่อยโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลที่พบบ่อย 1. การติดเชื้อที่ระบบทางเดินปัสสาวะ 2. การติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่าตัด 3. การติดเชื้อที่ระบบทางเดินหายใจ 4. การติดเชื้อในกระแสโลหิต 5. การติดเชื้อที่ผิวหนัง 6. การติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร

  40. ตัวอย่างการคำนวณอัตราการติดเชื้อและอัตราความชุกตัวอย่างการคำนวณอัตราการติดเชื้อและอัตราความชุก ของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล ผู้ป่วย รายที่ 1 ............ .................................................................... 2 ............................... ................................................... 3 ................................................................................... 4 ........................................................................................................... 5 ................ ................................................................ 6 .............................. ................................................ 7 ........................................................................................................... 8 ........................................................ ...................... 9 ........................................................................................................... 10 .... ....................................................................................... A B C

  41. เปรียบเทียบการเก็บข้อมูลโดยวิธี Prevalence survey และ Surveillance • Prevalence survey Surveillance • 1. การวินิจฉัย • Standard definition เช่นเดียวกันเช่นเดียวกัน • 2. การเก็บข้อมูล • Standard data แบบฟอร์มเดียวกันแบบฟอร์เดียวกัน • collection form • ข้อมูลจาก Medicial เช่นเดียวกันเช่นเดียวกัน • laboratory record • 3. ระยะเวลาสำรวจเป็นครั้งคราวทำต่อเนื่องสม่ำเสมอ • 4. การคำนวณอัตรา อัตราความชุกอัตราการติดเชื้อ • (Prevalence rate) (Infection rate)

  42. แนวทางการวินิจฉัยการติดเชื้อในโรงพยาบาลแนวทางการวินิจฉัยการติดเชื้อในโรงพยาบาล - Clinical based sings & Symptoms - Laboratory based ติดเชื้อ ไม่ติดเชื้อ - inflammation ติดเชื้อจากชุมชน ติดเชื้อจากโรงพยาบาล - colonization (C.I.) (N.I.) - contamination ตำแหน่งที่ติดเชื้อต่าง ๆ

  43. การแปลความหมายข้อมูล * ผู้ป่วยที่เกิดการติดเชื้อมีลักษณะเป็นกลุ่ม - หอผู้ป่วย, แผนก * ตำแหน่งการติดเชื้อ * ประเภทของเชื้อโรคที่เป็นสาเหตุ - ลักษณะความไวต่อยาต้านจุลชีพ

  44. การรายงานผล เพื่อ : * ให้ผู้บริหารและบุคลากร ทราบปัญหาและสถานการณ์โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล * ประโยชน์ต่อการวางแผนป้องกันและควบคุม โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล

  45. การรายงานผล : การระบาด เพื่อ: ให้เกิดการปฏิบัติในการควบคุมการระบาด

  46. การรายงานผล : ลักษณะ - แบบมาตรฐาน เรียงลำดับเนื้อหาอย่างต่อเนื่อง - การนำเสนอ เป็นระยะ ๆ สม่ำเสมอ - เนื้อหา เฉพาะข้อมูลที่สำคัญ - สถานการณ์ที่เกิดขึ้นพิเศษ - การสรุปสถานการณ์ วิเคราะห์แปลผลและ ให้ข้อเสนอแนะ

  47. การปฏิบัติเพื่อการควบคุมโรคติดเชื้อการปฏิบัติเพื่อการควบคุมโรคติดเชื้อ • การจัดทำรายงานที่มีคุณภาพ • เสนอ • - บุคลากร : ทราบปัญหา, แนวทาง • การแก้ปัญหา • - ผู้บริหาร : เข้าใจง่าย, มีประโยชน์ • ในการตัดสินใจสั่งการ

  48. SURVEILLANCE METHODS Source:International Infection Control MN. US. June 12-16,2000

  49. Seven Essential Components of a Surveillance Program * Assess the population * Select the outcome or process for surveillance * Use surveillance definitions * Collect surveillance data * Calculate and analyze surveillance rates * Apply risk stratification methodology * Report and use surveillance information

More Related