420 likes | 692 Views
เข้าห้องเรียน 10% รายงาน 20% สอบกลางภาค 20% สอบปลายภาค 50%. การให้คะแนนข้อสอบตุ๊กตา ตัวบท 30% วินิจฉัย 60% ธงคำตอบ 10%. กฎหมายพาณิชย์ 1. มูลแห่งหนี้. -นิติกรรม สัญญา. -ละเมิด. -จัดการงานนอกสั่ง. -ลาภมิควรได้. -เหตุอื่นๆตามที่กฎหมายบัญญัติ. เมื่อมีหนี้เกิดขึ้น
E N D
เข้าห้องเรียน 10% • รายงาน 20% • สอบกลางภาค 20% • สอบปลายภาค 50%
การให้คะแนนข้อสอบตุ๊กตาการให้คะแนนข้อสอบตุ๊กตา • ตัวบท 30% • วินิจฉัย 60% • ธงคำตอบ 10%
มูลแห่งหนี้ -นิติกรรม สัญญา -ละเมิด -จัดการงานนอกสั่ง -ลาภมิควรได้ -เหตุอื่นๆตามที่กฎหมายบัญญัติ
เมื่อมีหนี้เกิดขึ้น หลัก เจ้าหนี้ย่อมสามารถบังคับชำระหนี้ได้ ยกเว้นแต่ สภาพแห่งหนี้ไม่เปิดช่องให้บังคับชำระหนี้ ได้
อะไร ? คือสิ่งที่เจ้าหนี้จะบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้ สิ่งที่เจ้าหนี้จะมีสิทธิบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้ ได้แก่ วัตถุแห่งหนี้ -กระทำการ -งดเว้นกระทำการ -ส่งมอบทรัพย์ วัตถุแห่งหนี้ ได้แก่
จะรู้ได้อย่างไรว่า มูลหนี้แต่ละอย่างมี วัตถุแห่งหนี้เป็นอะไร?
มูลแห่งหนี้ -นิติกรรม สัญญา เกิดโดยการ แสดงเจตนา -ละเมิด -จัดการงานนอกสั่ง เกิดโดยผลของ กฎหมาย (นิติเหตุ) -ลาภมิควรได้ -เหตุอื่นๆตามที่กฎหมายบัญญัติ
วัตถุแห่งหนี้ของมูลหนี้แต่ละประเภทวัตถุแห่งหนี้ของมูลหนี้แต่ละประเภท
ละเมิด ม.420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิด กฎหมาย ให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้น ทำละเมิดจำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน”
ม.443 “ในกรณีทำให้เขาถึงตายนั้น ค่าสินไหมทดแทนได้แก่ ค่าปลงศพ รวมทั้งค่าใช้จ่ายอันจำเป็นอย่างอื่นๆอีกด้วย ถ้ามิได้ตายในทันที ค่าสินไหมทดแทนได้แก่ ค่ารักษา พยาบาลรวมทั้งค่าเสียหายที่ต้องขาดประโยชน์ทำมาหาได้ เพราะไม่สามารถประกอบการงานนั้นด้วย ถ้าว่าเหตุที่ตายลงนั้นทำให้บุคคลคนหนึ่งคนใดต้อง ขาดไร้อุปการะตามกฎหมายไปด้วยไซร้ ท่านว่าบุคคลนั้นชอบที่ จะได้รับค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”
จัดการงานนอกสั่ง ม.395 “บุคคลใดเข้าทำกิจการแทนผู้อื่นโดยเขามิได้ว่าขานวานใช้ให้ ทำก็ดี หรือโดยมิได้มีสิทธิที่จะทำการงานนั้นแทนผู้อื่นด้วยประการใด ก็ดี ท่านว่าบุคคลนั้นจะต้องจัดการงานไปในทางที่จะให้สมประโยชน์ ของตัวการ.....”
ม.396 “ถ้าการที่เข้าจัดการงานนั้น เป็นการขัดกับความประสงค์อัน แท้จริงของตัวการก็ดี..............ท่านว่าผู้จัดการจำต้องใช้ค่าสินไหม ทดแทนให้แก่ตัวการเพื่อความเสียหายอย่างใดๆอันเกิดแต่ที่ได้ เข้าจัดการนั้น...”
นิติกรรมสัญญา -ขึ้นอยู่กับประเภทของนิติกรรมสัญญาแต่ประเภท -ขึ้นอยู่กับการแสดงเจตนาของคู่สัญญา
สัญญาจ้างแรงงาน แดง จ้างดำให้เป็นพนักงานขายของที่ร้านค้าของตน เดือนละ 6,000บาท การทำงาน แดง ดำ ค่าจ้าง วัตถุแห่งหนี้ ของแดง คืออะไร และของดำคืออะไร
สัญญายืมใช้คงรูป แดง ยืมกล้องถ่ายรูปของดำ ไปถ่ายรูปรับปริญญาพี่สาว การคืนทรัพย์ แดง ดำ
วัตถุแห่งหนี้(วัตถุแห่งการชำระหนี้)วัตถุแห่งหนี้(วัตถุแห่งการชำระหนี้) • จำแนกได้ 3 ประเภท • กระทำการ • ลูกหนี้ต้องทำเองเฉพาะตัว • ลูกหนี้ไม่ต้องทำเองเฉพาะตัว • การทำนิติกรรม • งดเว้นกระทำการ • ทำไปแล้ว ได้แต่ เรียกค่าเสียหาย • ได้ทำไปแล้ว ...จะทำอย่างไรไม่ให้เกิดขึ้นอีก..... • ส่งมอบทรัพย์
เจ้าหนี้จะบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้ อย่างไรได้บ้าง ? (การบังคับชำระหนี้เฉพาะเจาะจง) • วัตถุแห่งหนี้ มีอยู่อย่างไร เจ้าหนี้ชอบจะเรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ได้อย่างนั้น (การบังคับชำระหนี้เฉพาะเจาะจง) • ยกเว้นแต่ สภาพแห่งหนี้จะไม่เปิดช่องให้ชำระ • หนี้ตกเป็นพ้นวิสัย • หนี้กระทำการ (ลูกหนี้ต้องทำเองเฉพาะตัว)
หนี้กระทำการ ที่ลูกหนี้ต้องทำเองเฉพาะตัว (บังคับให้กระทำไม่ได้ ได้แต่เรียกค่าเสียหาย) • หนี้กระทำการ ที่ลูกหนี้ไม่ต้องทำเองเฉพาะตัว เจ้าหนี้จะร้องขอต่อศาลให้สั่งบังคับให้บุคคลภายนอกกระทำการ โดยให้ลูกหนี้เสียค่าใช้จ่าย • หนี้กระทำการโดยการทำนิติกรรม ถือเอาคำพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของลูกหนี้ • หนี้งดเว้นกระทำการ ให้ลูกหนี้จัดการอันควรเพื่อกาลภายหน้า (ระงับการกระทำอันจะเกิดขึ้นในภายหน้า)
ไทยเสี่ยงโดนแบน หลัง กสทช. เผยความลับ iPhone 6 • กสทช. ได้ออกให้ข้อมูลว่า ทางแอปเปิลได้ส่งไอโฟนมาให้รับรองการจำหน่ายในไทยจำนวน 2 รุ่น คือหมายเลข A1586 และ A1524 โดยส่งมาให้เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม และตรวจรับรองเสร็จสิ้นในวันที่ 8 สิงหาคมที่ผ่านมา • ผู้สื่อข่าวได้สอบถามไปยัง กสทช. ว่าการเปิดเผยข้อมูลนี้ถือว่าเอาความลับของแอปเปิลออกมาสู่สาธารณะหรือไม่ ทาง กสทช. แจ้งว่า "จริง ๆ ทางแอปเปิลแจ้งเข้ามาว่าเป็นความลับของบริษัท แต่ กสทช. มองว่าการนำสินค้าเข้ามาขออนุญาตถือเป็นเรื่องที่เปิดเผยได้เพราะเป็นหน่วย งานของราชการ เมื่อมีการยื่นเรื่องเข้ามาก็พร้อมที่จะเปิดเผย แต่ทั้งนี้ก็ไม่มีให้ข้อมูลถึงสเปก และรายละเอียดต่าง ๆ ของเครื่องที่เป็นความลับไม่สามารถเปิดเผยได้"
เมื่อตรวจสอบมาตรฐานลงโทษของแอปเปิลที่มีต่อบริษัทที่เปิดเผยข้อมูลความลับ ของแอปเปิลที่ผ่านมา พบว่า แอปเปิลมีความเข้มงวดกับการเก็บข้อมูลในการวางจำหน่ายสินค้ามาก โดยเฉพาะ iPhoneซึ่งเป็นสินค้าหลักของบริษัทในปัจจุบัน โดย แอปเปิลกำชับผู้จำหน่ายทุกคนต้องเก็บความลับทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นราคา, วันวางขาย, จำนวนรุ่น หรือแม้แต่โบรชัวร์ก็ไม่สามารถเผยแพร่ก่อนแอปเปิลรับรองได้เลย • http://men.kapook.com/view95680.html
ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายหนี้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายหนี้ • เจ้าหนี้จะเรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ได้เมื่อใด • เมื่อใดลูกหนี้จึงจะตกเป็นผู้ผิดนัด และผลของการเป็นลูกหนี้ผิดนัด • การชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย
เจ้าหนี้จะเรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ได้เมื่อใด ? • หนี้ที่ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ ม. 203 เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ได้โดยพลัน และ ลูกหนี้ก็มีสิทธิชำระหนี้ของตนได้โดยพลันดุจกัน • หนี้ที่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ เจ้าหนี้จะเรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ก่อนถึงกำหนดเวลานั้นไม่ได้
กรณีที่ไม่มีกำหนดเวลา เจ้าหนี้เรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ได้โดยพลัน และลูกหนี้สามารถชำระหนี้ของตนได้โดยพลันเช่นกัน • แดงยืมเงินดำ โดยไม่มีกำหนดว่าจะคืนเมื่อไหร่ บอกแต่ว่า มีเมื่อไหร่จะคืน • กรณีที่มีกำหนดเวลาชำระหนี้แน่นอน เจ้าหนี้จะเรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ก่อนถึงกำหนดไม่ได้ • แดง ยืมเงิน ดำ กำหนดว่าจะคืน 1 มกราคม 2557
กรณีกำหนดชำระหนี้มิได้กำหนดไว้โดยแน่นอน แต่สันนิษฐานได้จากพฤติการณ์ เจ้าหนี้จะเรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ก่อนถึงกำหนดไม่ได้ • แดง ยืมเงินดำ เที่ยวประเพณียี่เป็ง • กรณีที่การชำระหนี้กำหนดไว้แน่นอน แต่เป็นที่สงสัย เจ้าหนี้จะเรียกให้ชำระหนี้ก่อนถึงกำหนดไม่ได้ • แดงยืมเงินดำ โดยกำหนดว่า จะคืนให้ก่อนสิ้นปี 2559
ลูกหนี้จะตกเป็นผู้ผิดนัดเมื่อใดลูกหนี้จะตกเป็นผู้ผิดนัดเมื่อใด • แบ่งออกได้เป็น 2 กรณี คือ 1. กรณีที่ผิดนัดโดยเจ้าหนี้ไม่ต้องเตือน กรณีหนี้กำหนดชำระตามวันแห่งปฏิทิน หรือกรณีต้องบอกกล่าวล่วงหน้าก่อนการชำระหนี้ ซึ่งได้กำหนดเวลาลงไว้อาจคำนวณนับได้โดยปฏิทิน เช่น ตกลงให้ชำระหนี้วันที่ 31 ตุลาคม 2557 หรือ ตกลงให้บอกกล่าวล่วงหน้าก่อน 30 วัน
-ตกลงให้ชำระหนี้วันที่ 31 ตุลาคม 2557 31 ต.ค. 57 -เจ้าหนี้เรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ได้ -ถ้าลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ ลูกหนี้ ตกเป็นผู้ผิดนัดทันที
แดงยืมเงินดำ โดยตกลงว่าถ้า ดำจะเอาเงินคืนเมื่อให้บอกกล่าว ล่วงหน้าก่อน 30 วัน บอกกล่าวให้ชำระหนี้ หนี้ถึงกำหนด 30 วัน ดำจะเรียกให้แดงคืนเงินเมื่อใด ก็ได้ -ถ้าลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ ลูกหนี้ ตกเป็นผู้ผิดนัดทันที
2. กรณีที่ผิดนัดโดยเจ้าหนี้ต้องเตือนก่อน ได้แก่ กรณีที่กำหนดเวลาชำระหนี้เป็นกรณีอื่นนอกจาก กรณีข้างต้น เช่น ผู้ซื้อผู้ขายตกลงกันว่า ผู้ขายจะจดทะเบียนโอนที่ดินให้แก่ผู้ซื้อเมื่อ ผู้ซื้อได้ชำระราคาครบถ้วนแล้ว
ผู้จะซื้อชำระ ราคาครบถ้วน ผู้จะซื้อเตือนให้ผู้จะขาย โอนที่ดินภายใน 30 วัน วันที่ 31 ลูกหนี้ผิดนัด 30 วัน เจ้าหนี้เรียกให้ ลูกหนี้ชำระหนี้ได้
อะไร คือความแตกต่างระหว่างหนี้ถึงกำหนดชำระ กับลูกหนี้ผิดนัด ?
การชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัยการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย • การชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย กับเหตุสุดวิสัยต่างกันอย่างไร ? • เหตุสุดวิสัย หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่ใครป้องกันมิให้เกิดขึ้นได้ • อุบัติเหตุ หมายถึง เหตุอันจะโทษบุคคลใดไม่ได้ • การชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย หมายถึง สภาพของลูกหนี้ที่ไม่สามารถชำระหนี้ได้
สาเหตุ ผล เหตุสุดวิสัย การชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย อุบัติเหตุ
-กระทำการ -งดเว้นกระทำการ -ส่งมอบทรัพย์ วัตถุแห่งหนี้ ได้แก่ สังกมทรัพย์ อสังกมทรัพย์
กรณีที่ลูกหนี้ต้องรับผิดชอบ ในกรณีการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย • ลูกหนี้ จงใจ หรือประมาทเลินเล่อ ทำให้การชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยม.218 • การชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยระหว่างผิดนัด แม้ว่าจะเกิดจากพฤติการณ์ที่โทษลูกหนี้ไม่ได้ ม.217
ผลของสัญญา • ผลของสัญญาต่างตอบแทน • การชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัยในสัญญาต่างตอบแทน • มัดจำ เบี้ยปรับ • การเลิกสัญญา
ผลของสัญญาต่างตอบแทน • สัญญาต่างตอบแทน เป็นอย่างไร ? • คือสัญญาที่คู่สัญญาทั้งสองฝ่าย ต่างเป็นเจ้าหนี้ลูกหนี้ซึ่งกันและกัน ต่างฝ่ายมีหน้าที่ต้องชำระหนี้ให้แก่กันและกัน • เช่น สัญญาซื้อขาย สัญญาเช่าทรัพย์ สัญญาเช่าซื้อ สัญญาจ้างแรงงาน สัญญาจ้างทำของ สัญญาฝากทรัพย์มีบำเหน็จ ฯลฯ
ชำระราคา ผู้ขาย ผู้ซื้อ ส่งมอบทรัพย์ ค่าจ้าง นายจ้าง ลูกจ้าง การทำงาน
สัญญาไม่ต่างตอบแทน เป็นอย่างไร ? • คือสัญญาที่คู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง มีฐานะเพียงเจ้าหนี้ หรือลูกหนี้เท่านั้น • เช่น สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง สัญญายืมใช้คงรูป สัญญาว่าจะให้ สัญญาฝากทรัพย์ไม่มีบำเหน็จ ฯลฯ
คืนทรัพย์ ผู้ให้ยืม ผู้ยืม คืนทรัพย์,ดูแลทรัพย์ ผู้รับฝาก ผู้ฝากทรัพย์