1 / 27

กับบทบาท แนวทาง และวิธีปฏิบัติราชการใน

พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑. กับบทบาท แนวทาง และวิธีปฏิบัติราชการใน. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑. มาตรา ๔๖. ระดับตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ มีดังต่อไปนี้. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑. มาตรา ๔๗.

Download Presentation

กับบทบาท แนวทาง และวิธีปฏิบัติราชการใน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ กับบทบาท แนวทาง และวิธีปฏิบัติราชการใน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

  2. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔๖ ระดับตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ มีดังต่อไปนี้

  3. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔๗ ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญจะมีในส่วนราชการใด จำนวนเท่าใด และเป็นตำแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด ให้เป็นไปตามที่ อ.ก.พ. กระทรวงกำหนด โดยต้องคำนึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไม่ซ้ำซ้อนและประหยัดเป็นหลัก ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด และต้องเป็นไปตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งตามมาตรา ๔๘

  4. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔๘ ให้ ก.พ. จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง โดยจำแนกตำแหน่งเป็นประเภทและสายงานตามลักษณะงาน และจัดตำแหน่งในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกันที่คุณภาพของงานเท่ากันโดยประมาณเป็นระดับเดียวกัน ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงาน ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งให้ระบุชื่อตำแหน่งในสายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบหลักและคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งไว้ด้วย

  5. หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การกำหนดตำแหน่ง (ว17/2552)

  6. การกำหนดตำแหน่ง  การกำหนดให้มีตำแหน่งในส่วนราชการใด จำนวนเท่าใด และเป็นประเภทใด สายงานใด ระดับใด โดยรวมถึง • การปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง • การเกลี่ยอัตรากำลัง (การตัดโอนตำแหน่ง) • การเปลี่ยนชื่อตำแหน่งในสายงาน • การเปลี่ยนด้านความเชี่ยวชาญ • การปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งสำหรับกลุ่ม K และ O • ต้องคำนึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไม่ซ้ำซ้อน • และประหยัดเป็นหลัก/เป็นไปตามกฎ ก.พ. (Spec)

  7. การประเมินคุณภาพงานของตำแหน่ง  ไม่มีผลทำให้ค่าใช้จ่ายสูงขึ้น หากมีผลทำให้ค่าใช้จ่ายสูงขึ้นให้นำตำแหน่งว่างมายุบรวม

  8. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล แนวคิดการทำงาน นโยบายรัฐบาลด้านสาธารณสุข : ปรับปรุงระบบบริหารด้านสาธารณสุข : ยกระดับ สอ. เป็น รพ.สต. : พัฒนาเครือข่ายการส่งต่อในทุกระดับ อย่างมีประสิทธิภาพ

  9. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล การพัฒนา • ภารกิจมาตรฐาน ๕ ระดับ  ส่งเสริม/ฟื้นฟู/รักษา/คุ้มครองผู้บริโภค/ควบคุมป้องกันโรค • โครงสร้างกายภาพและคุณภาพบริหารตามคุณลักษณะ รพ.สต. • - ปรับภาพลักษณ์ • - บุคลากรพร้อม • - ระบบข้อมูลเชื่อมต่อกับ รพ.แม่ข่าย • - การตั้งคกก.พัฒนา รพ.สต. แบบมีส่วนร่วม

  10. โครงสร้างเดิม  สอ. ภารกิจ กรอบอัตรากำลัง • หน.สอ. (จบห.งานสาธารณสุข ๗) • พยาบาลวิชาชีพ ๓-๕/๖ว/๗วช • นวก.สาธารณสุข ๓-๕/๖ว/๗ว • จพ.สาธารณสุขชุมชน ๒-๔/๕/๖ • จพ.สาธารณสุขชุมชน หรือ • จพ.ทันตสาธารณสุข ๒-๔/๕/๖ เป็นหน่วยงานด้านแรก ที่ให้บริการสาธารณสุขแบบผสมผสานระดับปฐมภูมิ ซึ่งเน้นในด้านการส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมโรคและป้องกันโรค การฟื้นฟูสภาพ และการรักษาพยาบาลเบื้องต้น มีการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพกรณีเกินขีดความสามารถ รวมถึงสนับสนุนวิชาการแก่ชุมชนและท้องถิ่นเพื่อให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการดูแลและพึ่งตนเองเพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน

  11. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โครงสร้างตำแหน่ง • ผอ.รพ.สต. (จพ.สาธารณสุขอาวุโส/นวก.สาธารณสุขชำนาญการ) • จพ.ธุรการ • พวช. (พยาบาลเวชปฏิบัติ/จิตเวช)* • นวก.สาธารณสุข* • จพ.สาธารณสุข • จพ.ทันตสาธารณสุข/นวก.สาธารณสุข • นวก.แพทย์แผนไทย/จพ.สาธารณสุข (วุฒิ ป.การแพทย์แผนไทย (อายุรเวท)) * ขึ้นอยู่กับภาระงาน ปริมาณงาน และจำนวนประชากรในพื้นที่

  12. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ภารกิจ งานบริหารวางแผนบริหารจัดการทั้งด้านบุคคล การเงิน การพัสดุให้มีประสิทธิภาพให้เอื้อต่อการบริการสุขภาพ จัดทำระบบงานให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล กระทรวง อำเภอ ตลอดจนประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของงานในการให้บริการสุขภาพเพื่อวางแผนในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน งานวิชาการสนับสนุนทางวิชาการ พัฒนาองค์กรระดับท้องถิ่นร่วมวิเคราะห์ปัญหาร่วมกับชุมชน วิจัยปัญหาสุขภาพจัดให้มีการ อบรม พัฒนาความรู้ทางวิชาการแก่บุคลากร ประชาชน อาสาสมัคร ผู้นำในระดับท้องถิ่น เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและพัฒนางานทางด้านสาธารณสุข เพื่อพัฒนาระบบสุขภาพร่วมกันโดยการวางแผน จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขร่วมกับชุมชน งานบริการและเวชปฏิบัติครอบครัวงานบริการสาธารณสุขผสมผสาน งานสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย งานคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพ และงานทันตสาธารณสุข

  13. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ผลการดำเนินการ  อ.ก.พ.สป. เมื่อวันที่ ๑๗ พ.ย. ๒๕๕๓ เห็นชอบโครงสร้างอัตรากำลัง  แจ้ง ก.พ. รับทราบ • แจ้งจังหวัด – สป. ที่ สธ ๐๒๐๑.๐๓๒/ว๓๖๔ • ลงวันที่ ๑๓ ธ.ค. ๒๕๕๓

  14. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สิ่งที่ได้ดำเนินการไปแล้ว • จัดทำคำสั่งมอบหมายให้ หน.สอ. หรือผู้ปฏิบัติหน้าที่ หน.สอ. ปฏิบัติหน้าที่เป็น ผอ.รพ.สต. • - คำสั่ง สป. ที่ ๑๘๗๕/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๒ ก.ค. ๒๕๕๓ • กระทรวงสาธารณสุขขออนุมัติ ก.พ. เปลี่ยนชื่อ สอ. เป็น รพ.สต. • - หนังสือ สป. ที่ สธ ๐๒๐๑.๐๓๒/๓๙๖๗ ลงวันที่ ๙ พ.ย. ๒๕๕๓

  15. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ความคืบหน้า  ขอความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างและภารกิจที่ปรับปรุงใหม่ - ว๕๕/๘ มี.ค. ๒๕๕๔  ประชุมคณะทำงานฯ เพื่อสรุปความคิดเห็น  การบริหารจัดการโครงสร้าง - โดยนิตินัย ต้องผ่านกระบวนการจัดคนลง - โดยพฤตินัย ได้กำหนดรหัสพื้นที่  กระบวนการจัดคนลงเริ่มเดือน มิ.ย.-ก.ย. ๒๕๕๔ แล้วเสร็จก่อน ๑ ต.ค. ๒๕๕๔  แต่งตั้งคณะทำงานพิจารณาการกำหนดตำแหน่งผอ.รพ.สต.

  16. ความคาดหวังและทิศทางความก้าวหน้าในสายงานความคาดหวังและทิศทางความก้าวหน้าในสายงาน

  17. คาดหวังอย่างไร สำหรับลูกจ้าง และพนักงานราชการ คาดหวังจะได้รับการบรรจุเป็นข้าราชการ สำหรับข้าราชการ ได้รับการปรับตำแหน่งสูงขึ้น ได้รับการปรับเปลี่ยนสายงาน หรือ ตำแหน่ง

  18. ประเภทตำแหน่งตาม พ.ร.บ. 2551 ประเภทบริหาร ระดับต้น ระดับสูง ประเภทอำนวยการ ระดับสูง ระดับต้น ประเภทวิชาการ ระดับ ปฏิบัติ การ ระดับ ชำนาญ การ ระดับ ชำนาญการ พิเศษ ระดับเชี่ยวชาญ ระดับทรงคุณวุฒิ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน ระดับ ชำนาญงาน อาวุโส ทักษะพิเศษ

  19. นโยบายของกระทรวงสาธารณสุขนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข  ให้โอกาสและสนับสนุนให้ทุกวิชาชีพได้รับความก้าวหน้าอย่างเหมาะสมและยุติธรรม ภายใต้หลักเกณฑ์ที่ดำเนินการได้

  20. หลักเกณฑ์และนโยบายที่เกี่ยวข้องหลักเกณฑ์และนโยบายที่เกี่ยวข้อง การกำหนดตำแหน่งเป็นอำนาจของ อ.ก.พ. กระทรวงฯ ภายใต้แนวทาง ที่ ก.พ. กำหนด  การจัดสรรตำแหน่งใหม่เป็นอำนาจหน้าที่ของ ค.ป.ร.  รัฐบาลเป็นผู้กำหนดนโยบายกำลังคนภาครัฐ

  21. การได้รับบรรจุเป็นข้าราชการสำหรับกลุ่มลูกจ้างการได้รับบรรจุเป็นข้าราชการสำหรับกลุ่มลูกจ้าง

  22. สิ่งที่กระทรวงดำเนินการสิ่งที่กระทรวงดำเนินการ ขอกำหนดตำแหน่งเพิ่มไป ก.พ. เพื่อเสนอ ค.ร.ม. ผ่อนคลาย ๓๓,๐๘๗ อัตรา - นักเรียนของกระทรวงและวิชาชีพจำเป็น - นักเรียนทุนพยาบาลภาคใต้ - แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร คู่สัญญา ปี ๒๕๕๔ ปรับปรุงและขอ ก.พ. ทบทวนหลักเกณฑ์การกำหนดตำแหน่ง ขอไปตั้งแต่ปี ๒๕๕๓

  23. สิ่งที่กระทรวงดำเนินการ (ต่อ)  เตรียมการจัดตำแหน่งตามโครงสร้างใหม่ • จัดตามโครงสร้างตำแหน่ง • ไม่มีการเปลี่ยนสายงาน • การปรับระดับ/ตำแหน่ง เป็นไปตามภาระงานและการประเมินค่างาน ตาม ว๑๗/๒๕๕๒ • ตำแหน่งว่างคงเดิมไว้ก่อน

  24. ทิศทาง ผอ.รพ.สต. กระทรวงตั้งคณะทำงานศึกษา ตำแหน่ง และความก้าวหน้า  สายงานเดี่ยว หรือหลากหลาย  ประเภท และ ระดับ ?  เงื่อนไขของรูปแบบบริการอาจมีผล

  25. ปัญหาหลักที่ต้องหาทางแก้ปัญหาหลักที่ต้องหาทางแก้

  26. เงื่อนไขการกำหนดตำแหน่งเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่ง  การกำหนดตำแหน่งทุกกรณีที่มีผลกระทบทำให้ค่าใช้จ่ายด้านบุคคลเพิ่มสูงขึ้น ให้ยุบเลิกตำแหน่งตามแนวทางการควบคุมค่าใช้จ่ายด้านบุคคลภาครัฐที่ ก.พ. กำหนด  ไม่มีตำแหน่งว่างมายุบรวม : ขออนุมัติ ก.พ. ยกเว้น (อาจไม่ได้รับการอนุมัติ) : ใช้วงเงินงบประมาณ ๓% มาบริหารจัดการ  หาแนวทางใหม่ : ร่าง พรบ.พนักงานกระทรวงสาธารณสุข เสนอ ครม.

  27. ถาม-ตอบ

More Related