10 likes | 183 Views
ครีมส ครับถั่วผสมสาร สกัดไลโคพีน จากมะเขือเทศ Scrub Peanut Cream Mixed by Lycopene Extraction form Tomato. กิตติญา ศุภจัตตุรัส , วีรยา วัชระ วรรณ ชัย, ผศ. ชูศรี ไพศาลอุดมศิลป์ , ดร . กนกพร บุญทรง , รัฐ พล หงส์เกรียงไกร
E N D
ครีมสครับถั่วผสมสารสกัดไลโคพีนจากมะเขือเทศครีมสครับถั่วผสมสารสกัดไลโคพีนจากมะเขือเทศ Scrub Peanut Cream Mixed by Lycopene Extraction form Tomato กิตติญาศุภจัตตุรัส, วีรยา วัชระวรรณชัย, ผศ.ชูศรี ไพศาลอุดมศิลป์,ดร.กนกพร บุญทรง, รัฐพล หงส์เกรียงไกร สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ E-mail : rattaponh@hotmail.com Introduction Results ในช่วงหลายปีที่ผ่านมากระแสความตื่นตัวเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ เป็นที่นิยมอย่างยิ่ง ซึ่งผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรและผักผลไม้ในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะมะเขือเทศจัดเป็นแหล่งที่ดีของสารต้านอนุมูลอิสระตามธรรมชาติอย่างมากมาย พร้อมทั้งสครับคือการขัดหรือถูเพื่อทำความสะอาดขจัดสิ่งสกปรกที่อุดตันตามรูขุมขนรวมทั้งเซลล์ผิวเก่าหรือเซลล์ผิวชั้นนอกที่ตายแล้วให้สามารถหลุดออกได้เร็วขึ้นด้วยถั่วเขียวและถั่วลิสงจึงช่วยเผยผิวให้แลดูสดใสมีชีวิตชีวาและสามารถรับอาหารผิวที่มีประโยชน์ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ รูปที่ 1 สัญญาณของสารสกัดไลโคพีนจากมะเขือเทศที่วัดโดยเครื่องฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรมิเตอร์ รุ่น Thermo Sciencetific Nicolet 6007 Objectives • สกัดสารไลโคพีนจากผลมะเขือเทศพันธุ์สีดา • ตรวจสอบสารสกัดไลโคพีน • ผลิตภัณฑ์สครับที่มีส่วนผสมไลโคพีนของถั่วทั้ง 2 ชนิด ขั้นตอนการสกัดไลโคพีนจากมะเขือเทศ วิธีการทำสครับถั่ว Methodology รูปที่ 2 แผนภูมิวงกลมแสดงเพศ และช่วงอายุของผู้ทดสอบความพึงพอใจของผลิตภัณฑ์ ขั้นตอนการทำครีมสครับถั่วผสมไลโคพีน ขั้นตอนการทำครีมสครับถั่วผสมไลโคพีน (ต่อ) รูปที่ 3 ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ทดสอบผลิตภัณฑ์ทั้งสองชนิดจากหัวข้อการประเมินทั้งแปดข้อ รูปที่ 4 ค่าความเป็นกรดด่างของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้ตามมาตรฐานครีมบำรุงผิว Conclusions References - การทดลองศึกษาวิธีการสกัดสารไลโคพีนจากผลมะเขือเทศพันธุ์สีดาโดยใช้วิธีการสกัดอย่างง่ายด้วยน้ำมันรำข้าวเป็นตัวสกัดแล้วนำมาตรวจด้วยเครื่อง FT-IR เพื่อดูหมู่ฟังก์ชันของไลโคพีน ปรากฏว่าหมู่ฟังก์ชันที่ได้สามารถยืนยันได้ว่าสารที่ได้เป็นสารไลโคพีน - เปรียบเทียบประสิทธิภาพของสครับถั่วทั้ง 2 ชนิด คือถั่วเขียวและถั่วลิสง ผลการประเมินที่ได้ คือผู้ใช้มีความพึงพอใจกับสครับถั่วเขียวมากกว่าสครับถั่วลิสง - ค่า pH ของผลิตภัณฑ์ที่ได้อยู่ในช่วง 6.0 – 6.5 ตามมาตรฐานครีมบำรุงผิว [1] M. a. D. L. d. C. Jannat M. Rolda´n-Gutie´rrez. 2007. Lycopene The need for better methods for characterization and determination.pp. 163-170. [2] G. H.1997.The Potential Role of Lycopene for Human Health.vol. 16, pp. 109-126. [3] B. L. Colditz GA, Lipnick RJ.1985.Increased green and yellow vegetable intake and lowered cancer deaths in an elderly population.pp. 32-36. [4] e. a. Giovannucci E.1995. Intake of crotenoids and retinol in relation to risk of prostate cancer.pp. 1767-1776. [5] "FT-IR explained," 2 เมษายน 2546. [6] T. Boon. 2001.Fourier transform infrared spectroscopy, Perkin Elmer instruments. [7] D. Skoog, Hollel, JF.,andNieman TA. 1998. Principles of instrumental analysis. 5th ed. Philadelphia Saunders College Publishers. p. 405.