1 / 13

กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา

กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา. หัวใจของการสอนคณิตศาสตร์. การสอนความคิดรวบยอด. 1. การสอนทักษะการคิดคำนวณ. 2. การแก้โจทย์ปัญหา / สถานการณ์. 3. การสอนคิดรวบยอด. นำเสนอข้อมูล หรือตัวอย่างต่างๆ. มี 2 วิธีใหญ่ๆ คือ Deductive และ Inductive โดยแต่ละวิธีมีขั้นตอนดังนี้.

mahola
Download Presentation

กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา

  2. หัวใจของการสอนคณิตศาสตร์หัวใจของการสอนคณิตศาสตร์ การสอนความคิดรวบยอด 1 การสอนทักษะการคิดคำนวณ 2 การแก้โจทย์ปัญหา / สถานการณ์ 3

  3. การสอนคิดรวบยอด นำเสนอข้อมูล หรือตัวอย่างต่างๆ มี 2 วิธีใหญ่ๆ คือDeductiveและInductive โดยแต่ละวิธีมีขั้นตอนดังนี้ ให้ผู้เรียนสังเกตข้อมูล หรือตัวอย่าง พร้อมจำแนกความเหมือน ให้ความคิดรวบยอด/หลักการ Deductive Inductive ให้ตัวอย่างและสิ่งที่ไม่ใช่ตัวอย่าง สรุปความคิดรวบยอด/หลักการ จากข้อมูลหรือตัวอย่าง ฝึกใช้ความคิดรวบยอด/หลักการ กับตัวอย่างใหม่ๆ ฝึกใช้ความคิดรวบยอด/ หลักการกับตัวอย่างใหม่ สรุปความคิดรวบยอด/หลักการ ที่ได้เรียนมาอีกครั้ง

  4. การสอนทักษะการคิดคำนวณการสอนทักษะการคิดคำนวณ 1.เชื่อมโยงการฝึกทักษะคิดคำนวณกับโจทย์ปัญหา/สถานการณ์เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้เด็กเรียนรู้ และเคยชินความสัมพันธ์ระหว่างตัวเลข เครื่องหมายและปัญหา/สถานการณ์ 2. ฝึกให้คิดประมาณคำตอบ การประมาณหรือคะเนคำตอบอย่างคร่าวๆ เป็นสิ่งจำเป็น และเป็นประโยชน์มากในสถานการณ์จริง และบางครั้ง ยังเป็นตัวช่วยเตือนให้ทราบว่า คำตอบจริงที่เราคำนวณได้ถูกหรือผิด 3. ฝึกให้คิดประเมินตนเอง การคิดคำนวณอย่างสม่ำเสมอเป็นสิ่งจำเป็น การฝึกคิดในใจ หรือทำแบบฝึกทักษะเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่อง และประเมินความสามารถของตนเองด้วยว่า ควรปรับปรุงแก้ไข หรือพัฒนาทักษะเรื่องใด อย่างไร

  5. การแก้โจทย์ปัญหา/ สถานการณ์ โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ มีความหลากหลาย พอจะจัดแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังต่อไปนี้ เป็นโจทย์ปัญหาที่ปรากฏในหนังสือเรียนระดับชั้นต่างๆ ซึ่งเป็นโจทย์ปัญหาที่เตรียมขึ้นเพื่อรองรับ และพัฒนาทักษะการคิดคำนวณในแต่ละเนื้อหาสาระ ดังนั้นการคำตอบของโจทย์ปัญหาประเภทนี้ จึงใช้วิธีที่เป็นข้อกำหนดกฎเกณฑ์เดิมๆ ไม่ติองใช้ความสามารถใดๆ ที่แปลกใหม่ไปจากเดิม 1. โจทย์ปัญหา ในชั้นเรียน มักไม่สามรถหาคำตอบได้โดยการคิดคำนวณหาคำตอบตามวิธีที่เคยใช้อยู่เดิม แต่ผู้แก้ปัญหามักต้องใช้ความคิด การวางแผน การใช้เหตุผลในการตัดสินใจเป็นสำคัญ และคำตอบที่ได้อาจมีมากกว่า 1 คำตอบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโจทย์ หรือสถานการณ์ที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างกันไป 2.โจทย์ปัญหา ที่เน้นกระบวนการ แก้ปัญหา

  6. ขั้นตอนการสอนโจทย์ปัญหาขั้นตอนการสอนโจทย์ปัญหา 1. ทำความเข้าใจกับปัญหา -โจทย์บอกอะไร -โจทย์ถามอะไร ขั้นตอนการสอนโจทย์ปัญหามี 4 ขั้นตอน 2. ขั้นวางแผนแก้ปัญหา พิจารณาดูว่า ข้อมูลที่โจทย์กำหนดให้มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันอย่างไร คำตอบควรเป็นเช่นไร ก็จะตัดสินใจเลือกวิธีหาคำตอบ (บวก ลบ คูณ หาร) 4. ขั้นทบทวนปัญหาและคำตอบ 3. ขั้นลงมือแก้ปัญหา • - ตอบคำถามได้ตรงตามที่โจทย์ต้องการหรือไม่ • คิดคำนวณได้ถูกต้องหรือไม่ • ฝึกพิจารณาความเป็นไปได้ของคำตอบที่คำนวณได้ สอดคล้องกับข้อมูลของโจทย์หรือไม่ • - ฝึกทดลองหาคำตอบด้วยวิธีอื่นๆ เพื่อยืนยันความถูกต้องของคำตอบที่คำนวณได้ • ฝึกให้รู้จักประมาณคำตอบ • ฝึกให้ตรวจสอบการคิดคำนวณทุกขั้นตอน • ฝึกให้ตรวจสอบคำตอบที่ได้ ว่ามีเหตุผลสอดคล้องกับข้อมูลของโจทย์ • ฝึกให้สรุปคำตอบให้ชัดเจน และตรงกับโจทย์ถาม

  7. การสอนชั้นป.1

  8. การสอนชั้นป.2

  9. การสอนชั้นป.3

  10. การสอนชั้นป.4

  11. การสอนชั้นป.5

  12. การสอนชั้นป.6

  13. Add Your Company Slogan ขอบคุณค่ะ

More Related