380 likes | 791 Views
มาตรการแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย. ทพญ.จันทนา อึ้งชูศักดิ์. Dental caries. เริ่มเมื่อมี Demineralized ของแร่ธาตุจากผิวฟัน กระบวนการเกิดโรค เป็น dynamic process เกิดที่ รอยต่อ ระหว่าง Plaque กับผิวฟัน ฟันผุระยะเริ่มต้น สามารถป้องกัน ยับยั้ง ทำให้มีการคืนกลับของแร่ธาตุที่สลายไปได้
E N D
มาตรการแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัยมาตรการแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย ทพญ.จันทนา อึ้งชูศักดิ์
Dental caries เริ่มเมื่อมีDemineralizedของแร่ธาตุจากผิวฟัน กระบวนการเกิดโรค เป็น dynamic process เกิดที่รอยต่อ ระหว่าง Plaqueกับผิวฟัน ฟันผุระยะเริ่มต้น สามารถป้องกัน ยับยั้ง ทำให้มีการคืนกลับของแร่ธาตุที่สลายไปได้ การตรวจพบ plaqueและ white spotบนผิวฟันเด็ก เป็นการเฝ้าระวังที่สำคัญ
การตรวจพบ plaqueและ white spotบนผิวฟันเด็ก เป็นการเฝ้าระวังที่สำคัญ
Determinant: biological, physical, chemical, social determinant
ฟันผุในเด็ก 3 ปีมีแนวโน้มลดลง การสำรวจทันตสุขภาพแห่งชาติ และการสำรวจระดับจังหวัด 2532-2555 เป้าหมาย 2557 ≤ 57 %
เด็กมีฟันผุเพิ่ม ~ 20% หรือ 3 ซี่/คน เมื่อเข้า ศพด.
เด็กชนบทฟันผุมากกว่าเด็กในเมืองNational survey 2532-2555
มาตรการแก้ปัญหาโรคฟันผุในฟันน้ำนมมาตรการแก้ปัญหาโรคฟันผุในฟันน้ำนม • แปรงฟันด้วย ยาสีฟันฟลูออไรด์ เมื่อเป็น non-cavitated, enamel caries • ใช้ Fluoride varnish เมื่อเป็นcavitated enamel caries • ใช้ Sealants with Glass Ionomer Cement เมื่อเป็น non-cavitated dentine caries • อุดฟัน ด้วย Glass Ionomer Cement เมื่อเป็นรูผุระดับ dentine caries • ควบคุมการบริโภค Fermentable carbohydrate
มาตรการแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย 0-2 ปี • ตรวจช่องปาก • ฝึกผู้ปกครองแปรงฟันแบบลงมือ • ทา Fluoride varnish ในเด็กเสี่ยง • รณรงค์ให้ผู้ปกครองแปรงฟันตั้งแต่ฟันขึ้น • ซี่แรก • ใช้ Silver Fเพื่อหยุดยั้งฟันผุ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2556 (วัดปี 2557) ร้อยละของเด็กปฐมวัย (3 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ (57) ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจช่องปากและผู้ดูแลได้รับการ ฝึกทักษะการแปรงฟัน (70) และเด็กได้รับการทาฟลูออไรด์วาร์นิช (50) Service plan: เด็ก 3 ปี มีฟันน้ำนมผุ ≤ 60%ในปี 2560
ทำงานอย่างไร ??? มาตรการ แปรงฟันด้วยยาสีฟัน F ลดน้ำตาล/แป้ง ทำงานคุณภาพ ทำให้ถึงจุดแก้ปัญหา เข้าใจ/บริหาร กลุ่มเป้าหมาย
Setting การทำงาน + ตัวช่วย • คลีนิคเด็กดี • ลงทำงานในชุมชน • ทำงานใน ศพด. และ เด็กอนุบาล
ผลการฝึกแปรงฟันอย่างมีคุณภาพผลการฝึกแปรงฟันอย่างมีคุณภาพ • ประชากรตัวอย่าง เด็ก 9-18 เดือน 102 คน (เริ่มต้น 290 คน) • ตรวจฟันทั้ง 2 กลุ่ม • กลุ่มทดลอง สอนแปรงฟัน เหตุใดต้องแปรงฟัน เราแปรงเอาอะไรออก ทราบอย่างไรว่าฟันสะอาดแล้ว หากฟันเริ่มผุจะสังเกตอย่างไร • สอนจากหุ่นก่อน และลงมือปฏิบัติจริง • ติดตามผล 2 ครั้ง/ปี ห่างกัน 4 เดือน อสม.ช่วยกระตุ้น
ค่าเฉลี่ย dmfs ก่อนและหลังการสอนแปรงฟัน
ตัวอย่างการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในคลินิกเด็กดีอย่างต่อเนื่อง รพ.บางปะอิน ที่มาของโครงการ • เดิมการให้บริการในWCC เริ่มเมื่อเด็ก 18ด. เมื่อเก็บข้อมูลเด็ก 18 ด. พบฟันผุไปแล้ว 28 % • ปรับระบบใหม่ ดูแลตั้งแต่อายุ 4,6,9 ด. แนะนำการกินนม การเช็ดช่องปาก การแปรงฟัน มีระบบติดตามเด็กที่ไม่มารับบริการโดยฝ่ายส่งเสริมฯ หลังดำเนินการ 3 ปี จึงได้ทำการประเมินผล
ร้อยละของเด็กที่มีฟันผุแยกตามการมารับบริการร้อยละของเด็กที่มีฟันผุแยกตามการมารับบริการ
สรุป • การปรับระบบริการมีผลให้เด็กมารับบริการครั้งแรกอายุน้อยลง จำนวนครั้งของเด็กที่มารับบริการมากขึ้น • เด็กอายุ 18 เดือน กินนมหวานลดลง มีแนวโน้มได้รับการแปรงฟันประจำมากขึ้น เด็กปราศจากฟันผุเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 91.1 (เพิ่ม 17 %)
ตัวอย่างโครงการในระดับชุมชนการเพิ่มศักยภาพ อสม.ในการเฝ้าระวังฟันผุเด็กปฐมวัย จ.ภูเก็ต 18 หมู่บ้าน เด็ก 0-2 ปี 340 คน
ปูเสื่อสอน.......สม่ำเสมอปูเสื่อสอน.......สม่ำเสมอ
เราช่วยกัน....แปรงฟัน อสม.สอนผู้ปกครอง
ร้อยละของเด็ก 3 ปี มีฟันผุ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ต.เทพกระษัตรี
ตรวจช่องปาก • ฝึกผู้ปกครองแปรงฟันแบบลงมือ • ทา Fluoride varnish ในเด็กเสี่ยง • รณรงค์ให้ผู้ปกครองแปรงฟันตั้งแต่ฟันขึ้นซี่แรก การแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย 3-5 ปี
ข้อมูลทั่วไปของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กข้อมูลทั่วไปของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก • เด็กอายุ 2 ขวบครึ่ง ถึง 5 ขวบอยู่ในศูนย์เด็กเล็กช่วงเวลาที่ พ่อ-แม่ต้องทำงาน ประมาณ 942,583 คน คิดเป็นร้อยละ 37 ของเด็กปฐมวัยในประเทศไทย • ประเทศไทยมีศูนย์เด็กเล็กทุกสังกัดรวม 20,043 แห่ง อยู่ในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 17,821 แห่ง (ร้อยละ 89) นอกนั้นอยู่ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรุงเทพมหานคร กระทรวงกลาโหม และกระทรวงแรงงาน • กรมอนามัย 2554
ข้อมูลทั่วไปของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจากการสำรวจ 443 แห่งใน 12 จว.ผดด. 1420 คน ศรีสุดา ลีละศิธร สุรางค์เชษฐพฤนท์. การสำรวจสถานการณ์การจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากและการจัดสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปี 2553 (พท. 12 จังหวัด)
๒.กิจกรรมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก๒.กิจกรรมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก • แปรงฟันหลังอาหารด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ • ลดของหวาน เพิ่มผักผลไม้ • ตรวจและการรักษาที่จำเป็น • พ่อแม่ ผู้ปกครอง รับรู้ปัญหาและมีส่วนช่วยแก้ไข
ลักษณะทางระบาดวิทยา ในเด็กอายุ 15-19 เดือน พบฟันผุ 82.8% โดย 42.0% เป็น white lesion + 40.8% เป็น cavity (ธงชัยวชิรโรจน์ไพศาล 2003) เด็ก 2 ปี white lesion เปลี่ยนเป็น cavity 25% ในระยะ 6 เดือน (ทรงชัย ฐิตโสมกุล 2006) จำเป็นต้องทำงานบูรณะด้วย ???
ความสัมพันธ์ของฟันผุและการเจริญเติบโต : HEIGHT for ageข้อมูลจากการศึกษาของ 1 อำเภอ ใน จว.พระนครศรีอยุธยา Mean caries and height for age
3. การประเมินผลและพัฒนา Process evaluation Outcome evaluation
การจัดการกับ social determinant • การให้ข้อมูลกับประชาชน • health education • health information • การสร้างโปรแกรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Behavioral approach) • การสร้างกติกา นโยบาย กฎหมาย เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมทางสังคม (Environmental approach)