1 / 57

การศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ จากสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ ในพื้นที่ชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด

การศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ จากสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ ในพื้นที่ชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง. อำพร บุศรังษี กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย โทร 0 2590 4349 นำเสนอในการอบรมการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ วันที่ 11 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมสตาร์

Download Presentation

การศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ จากสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ ในพื้นที่ชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ จากสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ ในพื้นที่ชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง อำพร บุศรังษี กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย โทร 0 2590 4349 นำเสนอในการอบรมการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ วันที่ 11 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมสตาร์ http://hia.anamai.moph.go.th/

  2. รศ.ดร.นพ.พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - กรมควบคุมมลพิษ กรมอุตุนิยมวิทยา - สสจ.ระยอง เทศบาลเมืองมาบตาพุด - อสม.และประชาชนในพื้นที่ 6 ชุมชน (หนองแฟบ บ้านพลง โสภณ ตากวน ซอยร่วมพัฒนา มาบชลูด) ที่ปรึกษา ผู้ที่ให้ความร่วมมือ

  3. มลพิษอากาศ (คพ. เฝ้าระวัง) • - ก๊าซพื้นฐาน (SO2 NO2 O3 CO PM10) • - สารอินทรีย์ระเหยง่าย (สารวีโอซี) • มลพิษอากาศ (คพ. เฝ้าระวัง) • - ก๊าซพื้นฐาน (SO2 NO2 O3 CO PM10) • - สารอินทรีย์ระเหยง่าย (สารวีโอซี) • น้ำ (น้ำทะเล น้ำคลอง บ่อน้ำตื้น - โลหะหนัก) • ดิน / อาหาร (สัตว์ทะเล ฯลฯ) ปัญหา - มลพิษสิ่งแวดล้อม ผังแสดงพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม 5 นิคม

  4. 1. ศึกษาปริมาณสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ โดยใช้เครื่องมือตรวจวัดแบบต่าง ๆ 2. ศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ (อาการปวดศีรษะ/เวียนศีรษะ) ของประชาชน วัตถุประสงค์

  5. 3. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบต่อสุขภาพและ สารวีโอซีในบรรยากาศ ที่เก็บโดยคานิสเตอร์ ส่งตรวจวิเคราะห์ห้องLAB วัตถุประสงค์ แบบที่ 1 สารวีโอซี 9 ชนิด

  6. 4. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบต่อสุขภาพและ • สารวีโอซีทั้งหมดในบรรยากาศ ที่ตรวจวัดโดย • เครื่องพีพีบีแร 3000 วัตถุประสงค์ แบบที่ 2 สารวีโอซีทั้งหมด

  7. 5. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบต่อสุขภาพและ สารวีโอซีในบรรยากาศ ที่เก็บโดยเครื่องมือแบบแพร่ ชนิดท่อ ส่งตรวจวิเคราะห์ห้อง LAB วัตถุประสงค์ แบบที่ 3 สารวีโอซี 8ชนิด

  8. ถังเก็บตัวอย่างอากาศ (คานิสเตอร์ - canister) แบบที่ 1 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบต่อสุขภาพ และสารวีโอซีในบรรยากาศ ที่เก็บโดยคานิสเตอร์ ส่งตรวจวิเคราะห์ห้องLAB

  9. พื้นที่ดำเนินการ 6 ชุมชน ทิศทางลม ช่วง พ.ค. – ก.ย. 2552 ลมพัดไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ชุมชนมาบชลูด บ้านพลง ชุมชนโสภณ ชุมชนซอยร่วมฯ บ้านหนองแฟบ บ้านตากวน 9

  10. แบบสัมภาษณ์อาการ ปริมาณสารวีโอซี 9 ชนิด ในบรรยากาศ อาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ วิเคราะห์ผล การเก็บข้อมูล

  11. สัมภาษณ์ ประชาชน ครั้งละ 300 คน โดย อสม. เก็บ 7 ครั้ง พ.ค.-ก.ย.52 กำหนดจำนวนประชาชนใน 6 ชุมชน ที่จะตอบแบบสัมภาษณ์

  12. แบบสัมภาษณ์ • ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ • ข้อมูลอาการ • ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ • ข้อมูลตัวกวน • โรคประจำตัว ยาที่ทาน การป่วย ดื่มสุรา ดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง • ระยะห่างระหว่างบ้านกับปั๊มน้ำมันหรืออู่ซ่อมรถ • ข้อมูลบริบท • อุตุนิยมวิทยา (ทิศทางลม ความเร็วลม อุณหภูมิ • ความกดอากาศระดับน้ำทะเลความชื้นสัมพัทธ์ ปริมาณฝน • ทัศนวิสัยภาคพื้นดิน )

  13. ผลการเก็บข้อมูลใน 6 ชุมชน เก็บข้อมูล2ครั้ง (13 พ.ค. 52 และ 18 มิ.ย. 52) วันเก็บข้อมูลสุขภาพกับข้อมูลสารวีโอซีตรงกันเพียง 2 วัน

  14. ปริมาณสารวีโอซีที่เฝ้าระวังของกรมควบคุมมลพิษปริมาณสารวีโอซีที่เฝ้าระวังของกรมควบคุมมลพิษ - พบว่าค่าที่ตรวจวัดได้ไม่เกินค่าเฝ้าระวังของกรมควบคุมมลพิษ - หน่วยของสารวีโอวีเป็น ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร

  15. ประชากรตัวอย่าง 389 คน มีอาการปวดศีรษะ 49 คน (12.6%) 18 21 10 25 49

  16. ประชากรตัวอย่าง 389 คน มีอาการเวียนศีรษะ 49 คน (12.6%) 15 14 7 49 8 26

  17. ชุมชนที่มีประชากรตัวอย่าง • ปวดศีรษะจำนวนมากที่สุด • มาบชลูด (25 คน) • บ้านพลง(10 คน) • ตากวน (5 คน) • หนองแฟบ (4 คน) • ซอยร่วมพัฒนา (4 คน) • โสภณ (1 คน) • ชุมชนที่มีประชากรตัวอย่าง • เวียนศีรษะจำนวนมากที่สุด • มาบชลูด (26 คน) • หนองแฟบ (8 คน) • บ้านพลง(7 คน) • ตากวน (5 คน) • ซอยร่วมพัฒนา (3 คน) 26 25 10 ชุมชนมาบชลูด บ้านพลง ชุมชนโสภณ ชุมชนซอยร่วมฯ บ้านหนองแฟบ 8 บ้านตากวน 7

  18. ผลของสารวีโอซีต่ออาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ปริมาณสารเบนซีน เตตระคลอโรเอทธิลีน ไวนิลคลอไรด์ ในบรรยากาศมีความสัมพันธ์กับอาการปวดศีรษะของประชาชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p-value < 0.05 ปริมาณสาร 1,2 ไดคลอโรอีเทนในบรรยากาศ มีความสัมพันธ์กับอาการเวียนศีรษะของประชาชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p-value < 0.05

  19. แบบที่ 2 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบต่อสุขภาพ และสารวีโอซีทั้งหมดในบรรยากาศ ที่ตรวจวัดโดยเครื่อง พีพีบี แร 3000

  20. พื้นที่ดำเนินการ 3 ชุมชน บ้านพลง โสภณ ตากวน ทิศทางลม ช่วง 7 พ.ค. – 6 มิย. 52 ลมพัดไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ บ้านพลง ชุมชนโสภณ บ้านตากวน 21

  21. ตรวจวัด ที่บ้าน 3 หลัง แบบสัมภาษณ์อาการ ปริมาณ Total VOC(TVOC)ในบรรยากาศ อาการปวดศีรษะ และเวียนศีรษะ วิเคราะห์ผล สรุปการเก็บข้อมูล

  22. สัมภาษณ์ ประชาชน ครั้งละ 66 คน โดย อสม. เก็บ 31 วัน 7พ.ค.-6มิ.ย.52 จำนวนประชาชนใน 3 ชุมชน ที่จะตอบแบบสัมภาษณ์

  23. การติดตั้งเครื่องตรวจวัด พีพีบี แร 3000ณ บ้านคุณปราณี สานเจริญ ชุมชนบ้านพลง

  24. เครื่องมือที่ติดตั้งภายในบ้านเครื่องมือที่ติดตั้งภายในบ้าน

  25. การติดตั้งเครื่องตรวจวัด พีพีบี แร 3000ณ บ้านคุณรัตนาวดี โสภณ ชุมชนโสภณ

  26. การติดตั้งเครื่องตรวจวัด พีพีบี แร 3000ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขตากวน ชุมชนตากวน

  27. ผลการศึกษาใน 3 ชุมชน เก็บข้อมูล 31ครั้ง (7 พ.ค. 52 ถึง 6 มิ.ย. 52)

  28. ปริมาณสาร TVOC ที่ตรวจวัดได้ใน 3 ชุมชน หน่วยเป็น พีพีบี (ppb)

  29. ประชากรตัวอย่าง 2,046คน มีอาการปวดศีรษะ 125 คน (6.1%) 44 53 40 58 125

  30. ประชากรตัวอย่าง 2,046 คน มีอาการเวียนศีรษะ 125 คน(5.2%) 47 37 39 33 35 107

  31. ชุมชนที่มีประชากรตัวอย่างชุมชนที่มีประชากรตัวอย่าง • ปวดศีรษะ • ตากวน (58 คน) • บ้านพลง(40 คน) • โสภณ (27 คน) • ชุมชนที่มีประชากรตัวอย่าง • เวียนศีรษะ • บ้านพลง(39 คน) • ตากวน (35 คน) • โสภณ (33 คน) 39 40 บ้านพลง ชุมชนโสภณ 33 27 บ้านตากวน 58 35 32

  32. ผลของสารTVOC ต่ออาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ปริมาณสารวีโอซีทั้งหมดในบรรยากาศ ไม่มีความสัมพันธ์กับอาการปวดศีรษะของประชาชน ในพื้นที่ชุมชนโสภณ ตากวน และบ้านพลง ปริมาณสารวีโอซีทั้งหมดในบรรยากาศ มีความสัมพันธ์กับอาการเวียนศีรษะของประชาชนในพื้นที่ชุมชนตากวน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p-value < 0.05

  33. 10.00 - 11.00 น. 7.00 – 8.00 น. ปริมาณ TVOCใน1 วัน ของตากวน

  34. 9.00 - 10.00 น. 6.00 - 7.00 น. ปริมาณ TVOCใน1 วัน ของโสภณ

  35. 20.00 - 21.00 น. 21.00 - 22.00 น. ปริมาณ TVOCใน1 วัน ของบ้านพลง

  36. แผนภูมิแสดงผลการตรวจวัด(เฉลี่ย) ปริมาณสารวีโอซีทั้งหมด ในบรรยากาศ เฉลี่ย24 ชั่วโมง ของชุมชนโสภณ ตากวน บ้านพลง ตากวน บ้านพลง โสภณ ปริมาณ TVOCใน1เดือน

  37. แผนภูมิแสดงจำนวนประชากรตัวอย่างแผนภูมิแสดงจำนวนประชากรตัวอย่าง ที่มีอาการปวดศีรษะและเวียนศีรษะของชุมชนตากวน ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ จำนวน ผู้ปวดศีรษะ ผู้เวียนศีรษะ ใน 1เดือนตากวน

  38. แผนภูมิแสดงจำนวนประชากรตัวอย่างแผนภูมิแสดงจำนวนประชากรตัวอย่าง ที่มีอาการปวดศีรษะและเวียนศีรษะของชุมชนโสภณ ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ จำนวน ผู้ปวดศีรษะ ผู้เวียนศีรษะ ใน1เดือนโสภณ

  39. แผนภูมิแสดงจำนวนประชากรตัวอย่างแผนภูมิแสดงจำนวนประชากรตัวอย่าง ที่มีอาการปวดศีรษะและเวียนศีรษะของชุมชนบ้านพลง ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ จำนวน ผู้ปวดศีรษะ ผู้เวียนศีรษะ ใน1เดือนบ้านพลง

  40. แบบที่ 3 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบต่อสุขภาพ และสารวีโอซีในบรรยากาศ ที่เก็บตัวอย่างด้วย เครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อส่งตรวจห้อง LAB เครื่องมือ แบบแพร่ชนิดท่อ (Passive sampler)

  41. พื้นที่ดำเนินการ 6 ชุมชน ทิศทางลม ช่วง 14 – 19 ก.ค. 52 ลมพัดไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ชุมชนมาบชลูด บ้านพลง ชุมชนโสภณ ชุมชนซอยร่วมฯ บ้านหนองแฟบ บ้านตากวน 42

  42. ปริมาณสารวีโอซี 8 ชนิดในบรรยากาศ อาการปวดศีรษะ และเวียนศีรษะ วิเคราะห์ผล สรุปการเก็บข้อมูล แบบสัมภาษณ์อาการ

  43. สารวีโอซี 8ชนิด • สารวีโอซีตามมาตรฐาน กก.วล. ( 5 ชนิด จาก 9ชนิด) • เบนซีน • 1,2-ไดคลอโรอีเทน • ไตรคลอโรเอทธิลีน • เตตระคลอโรเอทธิลีน • คลอโรฟอร์ม • สารวีโอซีที่ไม่ได้อยู่ในมาตรฐาน กก.วล. • โทลูอีน • ไซลีน • เอทธิลเบนซีน

  44. ประชากรตัวอย่างใน 6 ชุมชน สัมภาษณ์ ประชากร 60 ตัวอย่าง ทุกวัน เป็นเวลา 6 วัน (14-19 กรกฎาคม 2552) โดยเจ้าหน้าที่กรมอนามัย

  45. ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อ ณ ห้องประชุมเทศบาลเมืองมาบตาพุด14 กรกฎาคม2552 ชี้แจง ขั้นตอนการติดเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อ และการปฏิบัติตนขณะติดเครื่องมือกับประชากรตัวอย่าง

  46. นำเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อมาติดกับตัวประชากรตัวอย่างนำเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อมาติดกับตัวประชากรตัวอย่าง ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อ

  47. เจ้าหน้าที่ติดบัตรประตัวที่มีชื่อและชุมชนกับประชากรตัวอย่าง ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อ

  48. ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อขั้นตอนการติดตั้งเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อ ประชากรตัวอย่างที่ติดตั้งเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อเรียบร้อยแล้ว

  49. ผลการศึกษาใน 6 ชุมชน เก็บข้อมูล 6ครั้ง (14 ก.ค. 52 ถึง 19 ก.ค. 52) โดยเก็บซ้ำคนเดิม ต่อเนื่องกัน 6 วัน ๆ ละ 1 ครั้ง จำนวนตัวอย่างทั้งสิ้น 360 ตัวอย่าง

More Related