310 likes | 469 Views
ข่ายงานสารสนเทศ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ ลุน. ข่ายงานสารสนเทศ. หมายถึง การรวมกลุ่มของระบบสารสนเทศที่มีอยู่เข้าด้วยกัน เพื่อความร่วมมือในการพัฒนากลุ่ม โดยมีศูนย์ทำหน้าที่ในการประสานงาน. ลักษณะของข่ายงานสารสนเทศ.
E N D
ข่ายงานสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีข่ายงานสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน
ข่ายงานสารสนเทศ • หมายถึง การรวมกลุ่มของระบบสารสนเทศที่มีอยู่เข้าด้วยกัน เพื่อความร่วมมือในการพัฒนากลุ่ม โดยมีศูนย์ทำหน้าที่ในการประสานงาน
ลักษณะของข่ายงานสารสนเทศลักษณะของข่ายงานสารสนเทศ • มีศูนย์ซึ่งมีฐานข้อมูลเฉพาะเรื่องโดยไม่ซ้ำกันตั้งแต่สองแห่งขึ้นไป และมีการรวบรวมสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ • ศูนย์มีการติดต่อเชื่อมโยงกันโดยระบบโทรคมนาคม • ผู้ใช้กระจายตามแหล่งต่างๆ ที่ห่างไกลศูนย์ • มีการส่งสารสนเทศให้ผู้ใช้บริการ
วัตถุประสงค์ของข่ายงานวัตถุประสงค์ของข่ายงาน • เพื่อใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่จากทรัพยากรสารสนเทศ • เพื่อให้ผู้ใช้เข้าถึงสารสนเทศต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ด้วยวิธีประหยัด คุ้มค่า • เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการให้บริการและการดำเนินงาน • เพื่อแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ • เพื่อใช้ประโยชน์จากผู้เชี่ยวชาญ ผู้ชำนาญการ ในแต่ละสาขา • เพื่อสร้างแบบแผนและมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
ลักษณะการจัดตั้ง • ตามสภาพภูมิศาสตร์ • ตามหน้าที่เฉพาะของงานเกี่ยวกับสารสนเทศ • ตามสาขาวิชา • ตามประเภทผู้ใช้
โครงสร้างของข่ายงาน • ข่ายงานแบบกระจาย • ข่ายงานแบบรวมศูนย์กลาง • ข่ายงานแบบผสม
ข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไปข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป • ระบบศูนย์แนะแหล่งสารสนเทศด้านสิ่งแวดล้อมนานาชาติ (อินโฟเทอร์ร่า)International Referral System for Sources of Environmental Information -INFOTERRA • ภายใต้ UNEP • สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ • รวบรวมรายชื่อหน่วยงานทางด้านสิ่งแวดล้อม
ข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไปข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป • ข่ายงานสารสนเทศขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ไอโซเน็ต) ISO Information Network -ISONET • เพื่อรวบรวมสารสนเทศด้านมาตรฐาน • สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไปข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป • ข่ายงานการแลกเปลี่ยนสารสนเทศและประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก (แอสตินโฟ) The Regional Network for then exchange of Information and Experience in Science and Technology in Asia and the Pacific - STINFO • เพื่อแลกเปลี่ยนสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์ในภูมิภาค • สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไปข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป • เครือข่ายสารสนเทศเอเชีย-แปซิฟิก Asia Pacific Information Network – APIN • ทำหน้าที่เครือข่ายระดับภูมิภาคสำหรับโครงการสารสนเทศเพื่อมวลชน ธรรมนูญของเครือข่่ายสารสนเทศเอเชีย-แปซิฟิก ระบุให้สำนักงานเลขานุการ UNESCO แห่งชาติร่วมกับ UNESCO ในการคัดเลือกและเสนอชื่อหน่วยงานแห่งชาติสำหรับเครือข่ายสารสนเทศเอเชีย-แปซิฟิก ของแต่ละประเทศ และให้หน่วยงานแห่งชาติรับผิดชอบงบประมาณสำหรับส่งผู้แทนเข้าประชุมของตนเอง เพื่อให้ค่าใช้จ่ายเป็นไปอย่างประหยัดและ UNESCO สามารถให้ความช่วยเหลือประเทศยากจนได้เต็มที่
ข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไปข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป • ศูนย์เครือข่ายข้อสนเทศด้านแหล่งพลังงานใหม่/พลังงานหมุนเวียนและเทคโนโลยีภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก Information Network on New and Renewable Energy Resources and Technologies for Asia and the Pacific -INNERTAP • เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ด้านพลังงานใหม่ พลังงานหมุนเวียน และการประหยัดพลังงาน
ข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไปข่ายงานสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป • ข่ายงานสารสนเทศและการขยายเทคโนโลยีอุตสาหกรรมแห่งภูมิภาคเอเชีย (เทคโนเนท เอเชีย) Asian Network for Industrial Technology Information and Extension - TECHNONET ASIA • เพื่อปรับปรุงคุณภาพและประสิทธิภาพการผลิตของบริษัทขนาดเล็ก และขนาดกลาง โดยการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสมในทางอุตสาหกรรมเพื่อใช้ในการผลิต • กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการแพทย์และสาธารณสุขข่ายงานสารสนเทศสาขาการแพทย์และสาธารณสุข • ข่ายงานบริการสารสนเทศทางการแพทย์และสาธารณสุข (เฮลลิส) Health Literature, Library and Information Services - HELLIS • เพื่อการใช้ทรัพยากรสารสนเทศทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขร่วมกัน • หอสมุดคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการแพทย์และสาธารณสุขข่ายงานสารสนเทศสาขาการแพทย์และสาธารณสุข • ศูนย์สารสนเทศทางการแพทย์แห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซีมิค) Southeast Asia Medical Information Center - SEAMIC • เพื่อช่วยเหลือสมาชิกในด้านการวางแผนการแพทย์ สาธารณสุข และการฝึกอบรมบุคลากร ด้านการแลกเปลี่ยนและการให้บริการสารสนเทศ • ห้องสมุดมหาวิทยาลัยมหิดล
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการแพทย์และสาธารณสุขข่ายงานสารสนเทศสาขาการแพทย์และสาธารณสุข • ข่ายงานสารสนเทศด้านประชากรและการวางแผนครอบครัวของประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน ป็อบอิน) ASEAN Population Information Network - ASEAN POPIN • สนับสนุนและส่งเสริมสารสนเทศด้านประชากรและการวางแผนครอบครัวแก่ประเทศสมาชิก • กรมอนามัย ศูนย์สารสนเทศทางประชากรศาสตร์ ฯลฯ
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการเกษตรข่ายงานสารสนเทศสาขาการเกษตร • ระบบข้อสนเทศทางการเกษตรและเทคโนโลยีนานาชาติ (แอกริส) International Information System for the Agricultural Sciences and Technology- AGRIS • เพื่อเป็นศูนย์รวมและเผยแพร่สารสนเทศทางการเกษตร • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการเกษตรข่ายงานสารสนเทศสาขาการเกษตร • ระบบสนเทศงานวิจัยการเกษตรทันสมัยนานาชาติ (คาลิส) Current Agricultural Information System – CARIS • เพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการเกษตรข่ายงานสารสนเทศสาขาการเกษตร • ศูนย์สนเทศทางกระบือนานาชาติ (ไอบิค) International Buffalo Information Center – IBIC • รวบรวมและจัดเก็บเอกสารทางกระบือจากแหล่งต่างๆ ทั่วโลก • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการเกษตรข่ายงานสารสนเทศสาขาการเกษตร • ธนาคารข้อสนเทศทางการเกษตรสำหรับเอเชีย (ไอบา) The Agricultural Information Bank for Asia – AIBA • เพื่อตอบสนองความต้องการด้านการวิจัยทางการเกษตรและสาขาที่เกี่ยวข้องกับทางด้านการเกษตร
ข่ายงานสารสนเทศสาขาการเกษตรข่ายงานสารสนเทศสาขาการเกษตร • ระบบข่าวสารทางการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซีฟิส) Southeast Asian Fisheries Information System – SEAFIS • เพื่อเป็นศูนย์ในการรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล สารสนเทศทางการประมง
ศูนย์ประสานงานสารนิเทศแห่งชาติศูนย์ประสานงานสารนิเทศแห่งชาติ • ศูนย์ประสานงานสารนิเทศสาขา มีหน้าที่ดังนี้ • 1. เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูลหรือสารนิเทศ เฉพาะเรื่องจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของหน่วยงาน องค์การ สถาบัน กลุ่มบุคคล ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป • 2. เป็นสื่อกลางแนะนำแหล่งสารนิเทศที่มีอยู่ทั่วประเทศ • 3. ส่งเสริมและเผยแพร่าข้อมูลหรือสารนิเทศเกี่ยวกับศูนย์ประสานงานสารนิเทศสาขาอื่น ๆ ที่จะจัดตั้งขึ้นในอนาคต
ศูนย์ประสานงานสารนิเทศแห่งชาติศูนย์ประสานงานสารนิเทศแห่งชาติ • ศูนย์ประสานงานสารนิเทศทางวิชาการแห่งชาติสาขาเกษตรศาสตร์ • มีหน่วยงานความร่วมมือ 17 แห่ง • สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • http://ainc.lib.ku.ac.th/index.php
ศูนย์ประสานงานสารนิเทศแห่งชาติศูนย์ประสานงานสารนิเทศแห่งชาติ • 1.จัดหาและพัฒนาทรัพยากรด้านการเกษตรและสาขาที่เกี่ยวข้อง ให้สมบูรณ์ ครบถ้วน เพื่อให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ • 2.ส่งเสริมการใช้แหล่งสารนิเทศทางวิชาการด้านการเกษตร และสาขาที่เกี่ยวข้อง ให้เกิดประโยชน์สูงสุด • 3.ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างแหล่งสารนิเทศด้านการเกษตรและสาขาที่เกี่ยวข้อง และให้ความร่วมมือกับงานสารนิเทศสาขาอื่นๆ • 4.พัฒนาบุคลากรโดยการจัดฝึกอบรมระยะสั้น สัมมนา หรือบรรยายพิเศษแก่ผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งเสนอความรู้ใหม่ๆต่อผู้ใช้บริการ • 5.ทำหน้าที่เชื่อมโยงแหล่งผลิตสารสนเทศ และผู้ใช้บริการ ในระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ โดยนำเทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ
ศูนย์ประสานงานสารนิเทศแห่งชาติศูนย์ประสานงานสารนิเทศแห่งชาติ • ศูนย์ประสานงานสารนิเทศสาขาแพทยศาสตร์ • มีสมาชิก 150 แห่ง • หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล • http://mulinet10.li.mahidol.ac.th/thainatis/index.php
ศูนย์ประสานงานสารนิเทศแห่งชาติศูนย์ประสานงานสารนิเทศแห่งชาติ • ศูนย์ประสานงานสารนิเทศ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • มีหน่วยงานความร่วมมือ 15 แห่ง • สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • http://siweb.dss.go.th/stinc/index.asp