390 likes | 438 Views
กระบวนทัศน์และคุณลักษณะ ข้าราชการยุคใหม่. 4 กรกฎาคม 2551. ธัญญารัตน์ พฤนท์พิตรทาน. วัตถุประสงค์. เพื่อให้ : ตระหนักความสำคัญของ การปรับเปลี่ยนภาครัฐและสร้างความพร้อมในการเปลี่ยนแปลง คุณลักษณะของข้าราชการยุคใหม่ วิเคราะห์สมรรถนะของข้าราชการยุคใหม่ แนวทางในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง.
E N D
กระบวนทัศน์และคุณลักษณะกระบวนทัศน์และคุณลักษณะ ข้าราชการยุคใหม่ 4 กรกฎาคม 2551 ธัญญารัตน์ พฤนท์พิตรทาน
วัตถุประสงค์ • เพื่อให้: • ตระหนักความสำคัญของการปรับเปลี่ยนภาครัฐและสร้างความพร้อมในการเปลี่ยนแปลง • คุณลักษณะของข้าราชการยุคใหม่ • วิเคราะห์สมรรถนะของข้าราชการยุคใหม่ • แนวทางในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง
ประเด็นสำคัญ 1. ความจำเป็นในการปรับเปลี่ยนการบริหาร ภาครัฐ 2. ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงต่อสังคม และข้าราชการ 3. แนวคิดให้การบริหารจัดการภาครัฐแนว ใหม่ 4. สมรรถนะและคุณลักษณะของข้าราชการ ยุคใหม่
การปรับเปลี่ยนการบริหารภาครัฐการปรับเปลี่ยนการบริหารภาครัฐ รวดเร็ว การสื่อสาร ระบบเครือข่าย การตรวจสอบจากภายนอก ราชการ การแข่งขัน ระบบข้อมูลสารสนเทศ กระจายอำนาจ
การปรับเปลี่ยนการบริหารภาครัฐการปรับเปลี่ยนการบริหารภาครัฐ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ประเทศ โลกไร้พรมแดน การแข่งขันภายนอก เทคโนโลยี
สภาพปัญหาวัฒนธรรมและค่านิยมสภาพปัญหาวัฒนธรรมและค่านิยม ทัศนคติและค่านิยมที่ไม่เกื้อหนุนกับ ระบบราชการปัจจุบัน การทุจริตและประพฤติมิชอบ เกียรติภูมิและศักดิ์ศรีที่ต่ำลง ระบบคุณธรรมถูกแทรกแซง
ร่าง ความจำเป็นในการปรับเปลี่ยนการบริหารภาครัฐ 4
หลักการ 5
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง • ผลกระทบต่อข้าราชการ • ผลกระทบต่อองค์กร • ผลกระทบต่อสังคมในภาพรวม • ต่อประเทศชาติ • มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
ความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง การปรับวัฒนธรรมและค่านิยม การทำงานเชิงรุก การปรับวัฒนธรรมและค่านิยม การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การปรับวัฒนธรรมและค่านิยม การทำงานเป็นทีม
ธรรมาภิบาล: Good Governance การบริหารจัดการเป็นลักษณะ หรือวิถีทางของการ ใช้อำนาจรัฐ ในการจัดการทรัพยากรทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศการพัฒนา (จากธนาคารโลก)
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ • วัตถุประสงค์ • เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน • เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภาครัฐ(RESULT) • ความคุ้มค่า • ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน • ลดภารกิจและยุบเลิกงานที่ไม่จำเป็นให้ทันต่อสถานการณ์ • กระจายอำนาจ/ภารกิจ/ทรัพยากรให้ท้องถิ่น • มีผู้รับผิดชอบต่อผลงานที่เกิดขึ้น • การจัดสรรงบและบรรจุบุคคลที่ตรงกับงาน • ใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ธรรมาภิบาล 6 ประการ คุณธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ รับผิด ชอบ คุ้มค่า โปร่งใส นิติธรรม
มิติของธรรมาภิบาล * ด้าน การเมือง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการบริหารจัดการ * * *
หลักการของธรรมาภิบาล 1. การมีส่วนร่วม (Public Participation) 2. ความซื่อสัตย์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ 3. การบริหารพื้นฐานต่อสังคม (Accountability) 4. การมีกลไกที่ชอบทางการเมือง จุดเน้น
5. ระบบระเบียบมีความเป็นธรรม เท่าเทียมในการปฏิบัติ 6. การมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
วัตถุประสงค์ของธรรมาภิบาล . 1.เกิดบูรณาการฤ 3 อย่างคือภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาสังคม(Integration) 2.ปรับตัวไปสู่ความทันสมัย โลกาภิวัตน์(Adaptation & Modernization) 3.เกิดประโยชน์สูงสุด ความพึงพอใจ ร่วมกัน(Utilization)
* * 4.เกิดความเท่าเทียมกัน สนับสนุนการมี ส่วนร่วม(Equalization & Participation) 5.มีการแข่งขัน เกิดความยุติธรรม ลดการ เอาเปรียบการผูกขาด(Contestation & Justice)
ยุทธศาสตร์ฯการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดียุทธศาสตร์ฯการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี 1. การสร้างความรู้ ความเข้าใจหลักธรรมาภิบาล ให้กับบุคลากรภาครัฐทุกระดับ รวมทั้งองค์กร ภาคเอกชนและประชาชน 2. วางระบบบริหารการดำเนินการตามหลัก ธรรมาภิบาล 3. สร้างระบบธรรามาภิบาลในองค์กรกลยุทธ์หลัก 4. สร้างเครือข่าย ขยายผลดำเนินการกลยุทธ์
วัฒนธรรมองค์การ Culture มาจากรากศัพท์ ลาตินว่า Culturala แปลว่า เพาะปลูกในทางสังคมวิทยา วัฒนธรรมหมายถึง แบบอย่างพฤติกรรมที่บุคคลเรียนรู้มาทางสังคมโดยอาศัยสัญลักษณ์ และมีองค์ประกอบย่อย 4 องค์ประกอบ 1 ทัศนคติ/เจตคติ : Attitude 2 ความเชื่อ: Belief 3 ค่านิยม/คุณค่า : Value 4 สิ่งประดิษฐ์ขึ้น:Artifact
1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation ) 2. บริการที่ดี (Service Mind) 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise) 4. จริยธรรม (Integrity) 5. ความร่วมแรงร่วมใจ (Teamwork ) สมรรถนะหลัก (Core Competency) คุณสมบัติที่ต้องมี Hay Group
หมายถึง สิ่งที่บุคคลเห็นว่าเป็นสิ่งที่มีค่า ยึดถือและใช้เป็นเครื่องช่วยตัดสินใจและกำหนดการกระทำของตนเอง ค่านิยม(Value)
ค่านิยมสร้างสรรค์ของข้าราชการ 5 ประการ กล้ายืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ โปร่งใสตรวจสอบได้ ไม่เลือกปฏิบัติ มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
ปัญญา ขยัน ซื่อสัตย์ มนุษย์สัมพันธ์ จริยธรรม 4 ประการ
จรรยาบรรณจะบรรลุ เมื่อ... ยึดถือปฏิบัติเป็นวิถีชีวิต(commitment as way of life) เข้าถึงเจตนารมณ์ความมุ่งหมายที่แท้จริง(internalize) มีความรู้ความเข้าใจ (understanding)
ความหมาย ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่าง กำหนดขึ้นเพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียงฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้ จรรยาบรรณ
ต่อตนเอง มีศีลธรรมอันดี และประพฤติตนเหมาะสมกับการเป็นข้าราชการ ใช้วิชาชีพในการปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความซื่อสัตย์ และไม่แสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ มีทัศนคติที่ดีในการปฏิบัติหน้าที่ราชการและพัฒนาตนเองให้มีคุณธรรม ต่อหน่วยงาน จรรยาบรรณข้าราชการพลเรือน • ปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความสุจริต เสมอภาค ปราศจากอคติ • ปฏิบัติหน้าที่ราชการเต็มกำลังความสามารถ รวดเร็ว ขยันหมั่นเพียร ถูกต้อง สมเหตุสมผล • ตรงต่อเวลา ใช้เวลาราชการให้เป็นประโยชน์ต่อทางราชการอย่างเต็มที่ • ดูแลรักษาและใช้ทรัพย์สินของทางราชการอย่างประหยัด คุ้มค่า
ต่อผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงาน มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ผู้บังคับบัญชาพึงดูแลเอาใจใส่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาในด้านการปฏิบัติงาน ขวัญ กำลังใจ สวัสดิการ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในทางที่ชอบ ปฏิบัติต่อผู้ร่วมงานด้วยความสุภาพ มีน้ำใจ และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ละเว้นการนำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน จรรยาบรรณข้าราชการพลเรือน
ต่อสังคม • ให้ความเป็นธรรม เอื้อเฟื้อ มีน้ำใจ สุภาพ อ่อนโยน • ประพฤติตนให้เป็นที่เชื่อถือของบุคคลทั่วไป • ละเว้นการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด ซึ่งมีมูลค่าเกินปกติวิสัยที่วิญญูชนจะให้กันโดยเสน่หา จากผู้มาติดต่อราชการหรือผู้ซึ่งอาจได้รับประโยชน์ จากการปฏิบัติหน้าที่ราชการนั้น
คอรัปชั่น: พฤติกรรมที่ไม่ทำตามกฎหมาย หรือทำมากกว่า ทำน้อยกว่า/ใช้วิธีการผิด ผลประโยชน์ขัดกัน: แยกไม่ออกว่าระหว่างส่วนตัว และส่วนรวม ผิดวินัย: แย้งหรือสวนทางกบปทัสถานทางกฎหมายหรือพันธะทางสังคม ผิดวิชาชีพ: ขัดแย้งกับองค์ประกอบของวิชาชีพนิยมตามเกณฑ์ของวิชาชีพ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใด ธรรมจรรยาของเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2544 ๑. การรับทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใดจาก: ๑.๑ ญาติ รับได้ตามจำนวนที่เหมาะสมตามฐานานุรูป ๑.๒ บุคคลอื่น รับได้ต้องมีมูลค่าไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาท ๒. หากรับทรัพย์สินมีมูลค่าเกิน ๓,๐๐๐ บาท รายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบโดยเร็ว ๓. ผู้บังคับบัญชาพิจารณาอนุญาตให้ผู้รับเก็บไว้เป็น สิทธิหรือ ส่งมอบให้หน่วยงานของรัฐ หรือ ส่งคืนผู้ให้
ภาพลักษณ์ของข้าราชการภาพลักษณ์ของข้าราชการ คุณลักษณะของข้าราชการยุคใหม่ 6 ประการ 1.เหตุผลแก้ปัญหาเชิงจริยธรรม(จริยธรรม) Moral Reasoning 2. ลักษณะมุ่งอนาคต ควบคุมตน Future oriented3. แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ Achievement Motivation 4. ความเชื่อในความถูกต้อง Internal Locus of control 5. ทัศนคติที่ดีต่องาน Attitudes and values 6. ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ Emotional Quotient I AM READY คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของข้าราชการ (ก.พ.ร.) 6 ประการ 1. ทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี Integrity 2. ขยันตั้งใจทำงาน Active3. มีศีลธรรม คุณธรรม Moral 4. รู้ทันโลก ปรับตัวทันโลก Relevant 5. มุ่งเน้นประสิทธิภาพ Efficiency 6. รับผิดชอบต่อผลงาน Accountability 7.เป็นประชาธิปไตย Democracy 8.มุ่งเน้นผลงาน Yield ค่านิยมสร้างสรรค์ 5 ประการ ของสำนักงาน ก.พ. 5ประการ 1. กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง 2. ซื่อสัตย์รับผิดชอบ 3. โปร่งใสตรวจสอบได้ 4. ไม่เลือกปฏิบัติ 5. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
ภาพลักษณ์ของข้าราชการ ศ.ดวงเดือน พันธุมนาวิน พฤติกรรมที่พึงปรารถนา 4 ประการ 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา การปฏิบัติราชการอย่างมี ประสิทธิภาพ 2.ความสามารถในการมองอนาคต3. มีจิตสำนึกในการบริการและมุ่งผล ถึงประชาชน 4. ให้ข้าราชการพลเรือนมีความเป็น นักพัฒนา ลักษณะทางจิตใจของข้าราชการ 5 ประการ 1. เหตุผลเชิงจริยธรรม 2. ลักษณะมุ่งอนาคตและ การควบคุมตน 3.ความเชื่ออำนาจในตนเอง 4. ทัศนคติต่อการทำงานราชการ 5. สุขภาพจิต
กรอบจรรยาบรรณ ครอบคลุม 3 เรื่อง • กฎระเบียบที่ต้องยึดถือปฏิบัติ (Rules) • ผลของงานที่มุ่งคุณภาพ (Results) • ความสัมพันธ์ - เคารพซึ่งกันและกัน, ทำงานเป็นทีม, ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Relationships)
หลักการตัดสินใจเชิงจริยธรรมหลักการตัดสินใจเชิงจริยธรรม ตามทฤษฎีของโคลเบอร์ก หลักการตัดสินใจแบบไทย ระดับที่ ๑ หลักเพื่อประโยชน์ตนเอง (อัตตา) ระดับที่ ๑ ฟังคำสั่งและหลบหลีกการลงโทษทางกาย ระดับที่ ๒ หลักการแสวงหารางวัล ระดับที่ ๒ หลักเพื่อผู้อื่นในวงแคบ ระดับที่ ๓ หลักการทำตามที่ผู้อื่นเห็นชอบ ระดับที่ ๓ หลักเพื่อประโยชน์สังคมส่วนใหญ่ ระดับที่ ๔ หลักการทำตามหน้าที่ทางสังคม ระดับที่ ๕ หลักการทำตามคำมั่นสัญญา ระดับที่ ๔ หลักอุดมการณ์อันเป็นสากล ระดับที่ ๖ หลักอุดมคติสากล 2005, Ethics Promotion and Information Center ฤ
ยุทธศาสตร์ฯการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดียุทธศาสตร์ฯการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี 1. การสร้างความรู้ ความเข้าใจหลักธรรมาภิบาล ให้กับบุคลากรภาครัฐทุกระดับ รวมทั้งองค์กร ภาคเอกชนและประชาชน 2. วางระบบบริหารการดำเนินการตามหลัก ธรรมาภิบาล 3. สร้างระบบธรรามาภิบาลในองค์กรกลยุทธ์หลัก 4. สร้างเครือข่าย ขยายผลดำเนินการกลยุทธ์
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีเหตุผล เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม ชีวิต เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม สมดุล/มั่นคง/ ยั่งยืน จาก ส.พ.ช.
เหลือแต่คนดีๆ ผลลัพธ์ที่ต้องการ ข้าราชการพลเรือนมี คุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญกำลังใจ ในการปฏิบัติราชการ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจภาครัฐ 11
THANKS Office of the Civil Service Commission