400 likes | 842 Views
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและการนำเสนอสารสนเทศ. 3.1 การตั้งประเด็นปัญหา สิ่งที่ต้องการค้นคว้า 3.2 วิธีการแสวงหาข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ 3.2.1 แบบทั่วไป (เลขเรียกหนังสือและการจัดเรียงหนังสือบนชั้น). วัตถุประสงค์การเรียนรู้. 1. สามารถทราบขั้นตอนการแสวงหาสารสนเทศได้
E N D
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและการนำเสนอสารสนเทศ 3.1 การตั้งประเด็นปัญหา สิ่งที่ต้องการค้นคว้า 3.2 วิธีการแสวงหาข้อมูล ข่าวสาร ความรู้3.2.1 แบบทั่วไป (เลขเรียกหนังสือและการจัดเรียงหนังสือบนชั้น)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถทราบขั้นตอนการแสวงหาสารสนเทศได้ 2. สามารถกำหนดขอบเขตของปัญหาได้
3.1 การตั้งประเด็นปัญหา สิ่งที่ต้องการค้นคว้า ทำไม..กระบวนการแสวงหาสารสนเทศ???
กระบวนการแสวงหาสารสนเทศกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ - กระบวนการ -->แบบแผน, วิธีการ + - แสวงหา --> การค้นหา, การเสาะหา, การเที่ยวหา + - สารสนเทศ --> ข้อมูลผ่านการสังเคราะห์, วิเคราะห์ แล้วนำมาใช้ประโยชน์ได้
การแสวงหาสารสนเทศ: คำจำกัดความ = กิจกรรมหรือปฏิสัมพันธ์ที่บุคคลกระทำเพื่อแสวงหาสารสนเทศอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อตอบสนองความต้องการบางประการของผู้แสวงหา = มีลักษณะเป็นสหวิทยาการ ผสมผสานแนวคิด ทฤษฎีและศาสตร์จากสาขาต่าง ๆ เช่น การสื่อสาร จิตวิทยา การศึกษา สารสนเทศศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ผลการศึกษาวิจัยนำไปสู่การพัฒนาระบบสารสนเทศที่เอื้อต่อการค้นหาสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ = รูปแบบหนึ่งของการแสวงหาสารสนเทศ ซึ่งผู้ค้นต้องปฏิสัมพันธ์กับระบบการค้นคืนในสภาพแวดล้อมของสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์
แหล่งสารสนเทศที่ค้นได้ ก่อให้เกิดกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ • แหล่งสารสนเทศเบื้องต้น 2. แหล่งสารสนเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เอกสารจากแหล่งอื่น ๆ
ประเภทของการแสวงหาสารสนเทศประเภทของการแสวงหาสารสนเทศ 1. แสวงหาสารสนเทศที่ทราบอยู่แล้ว 2. แสวงหาข้อเท็จจริงที่มีอยู่ 3. แสวงหาเนื้อหาหรือความรู้ในด้านต่างๆ ตามความต้องการของตน หรือเรื่องที่ตนสนใจ
อุปสรรคและปัญหา 1. ตัวผู้แสวงหาสารสนเทศ 2. วิธีการ และกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ
การกำหนดขอบเขตของหัวข้อปัญหาการกำหนดขอบเขตของหัวข้อปัญหา การระบุขอบเขตของปัญหาขึ้นอยู่กับความรู้ ความเข้าใจ ประสบการณ์ และวัตถุประสงค์ของแต่ละบุคคล สิ่งสำคัญจะต้องเข้าใจความต้องการของตนเองก่อน ว่าต้องการคำตอบเพื่อสนองความต้องการหรือวัตถุประสงค์ใดและวิธีการได้มาซึ่งคำตอบนั้น มีวิธีการอย่างไร เช่น การกำหนดคำค้น วิธีการค้น กลยุทธ์ในการค้น และระบบที่จะใช้ค้นหา
การระบุขอบเขตของปัญหาการระบุขอบเขตของปัญหา การกำหนดคำค้น วิธีการค้น กลยุทธ์ในการค้น ระบบที่จะใช้ค้นหา การกำหนดขอบเขตของหัวข้อปัญหา
วิธีการกำหนดขอบเขตของปัญหา (ขั้นตอนการแสวงหาสารสนเทศ) 1. การตระหนักและยอมรับปัญหา 2. การระบุและเข้าใจปัญหา 3. การเลือกระบบค้นหา 4. การกำหนดข้อคำถาม 5. การดำเนินการค้นหา 6. การตรวจสอบผลลัพธ์ 7. การพิจารณาข้อมูลที่ได้ (การพิจารณา/ค้นหาซ้ำ/ยุติการค้นหา)
3.2 วิธีการแสวงหาข้อมูล ข่าวสาร ความรู้3.2.1 แบบทั่วไป (เลขเรียกหนังสือและการจัดเรียงหนังสือบนชั้น) ห้องสมุด – ระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification System --DDC) 2. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress ClassificationSystem --LC ) 3.ระบบอื่น ๆ เช่น 3.1 แบบห้องสมุดแพทย์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา(NLM) 3.2 แบบทศนิยมสากล (UDC)
ระบบทศนิยมดิวอี้ (DDC) ผู้คิดระบบนี้คือ เมลวิล ดิวอี้(Melvil Dewey), 2394-3474 สัญลัษณ์ที่ใช้ ได้แก่ ตัวเลขอารบิค 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์แสดงแทนเนื้อหา
ระบบทศนิยมดิวอี้ (DDC) การแบ่งครั้งที่ 1 แบ่งออกเป็น 10 หมวดใหญ่ (000-900) การแบ่งครั้งที่ 2 ภายในหมวดใหญ่ แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 10 หมวดย่อย (310-390) การแบ่งครั้งที่ 3 ภายใต้หมวดย่อย สามารถแยกเป็นหมวดย่อย โดยการเพิ่มตัวเลขอีก 10 หมวดย่อย (371-379) การแบ่งครั้งที่ 4 การแบ่งแยกหมวดย่อยให้มีเนื้อหาเฉพาะเจาะจง ยิ่งขึ้น โดยการเติมจุดทศนิยม (371.1-371.9) ตัวอย่างเลขเรียกหนังสือในระบบ DDC
ระบบทศนิยมดิวอี้ (DDC): การแบ่งครั้งที่ 1 การแบ่งครั้งที่ 1 แบ่งออกเป็น 10 หมวดใหญ่ (000-900)000Generalities (ความรู้ทั่วไป)100Philosophy (ปรัชญา)200Religion (ศาสนา)300 Social sciences (สังคมศาสตร์)400Languages (ภาษาศาสตร์)500 Pure sciences (วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์)600 Technology(Applied sciences) (เทคโนโลยีหรือวิทยาศาสตร์ประยุกต์)700 The Arts (ศิลปะ)800 Literature (วรรณคดี)900 General Geography and History (ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ทั่วไป)
ระบบทศนิยมดิวอี้ (DDC): การแบ่งครั้งที่ 2 การแบ่งครั้งที่ 2ภายในหมวดใหญ่ แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 10 หมวดย่อย 300Social sciences (สังคมศาสตร์) 310 สถิติ 320 รัฐศาสตร์ 330 เศรษฐศาสตร์ 340 กฎหมาย 350 รัฐประศาสนศาสตร์ 360 สังคมสงเคราะห์และบริการสังคม370 การศึกษา380 การพาณิชย์390 ขนบธรรมเนียมประเพณีและคติชาวบ้าน
ระบบทศนิยมดิวอี้ (DDC): การแบ่งครั้งที่ 3 การแบ่งครั้งที่ 3 ภายใต้หมวดย่อย สามารถแยกเป็นหมวดย่อย โดยการเพิ่มตัวเลขอีกหมวดละ 10 หมวดย่อย หมวด370 การศึกษา แบ่งย่อยเนื้อหาเพื่อให้เฉพาะเจาะจง 371 โรงเรียน 372 ประถมศึกษา 373 มัธยมศึกษา 374 การศึกษาผู้ใหญ่ 375 หลักสูตรวิชาที่เรียน 376 การศึกษาของสตรี 377 โรงเรียนและศาสนา 378 การศึกษาขั้นสูง 379 การศึกษาและรัฐ
ระบบทศนิยมดิวอี้ (DDC): การแบ่งครั้งที่ 4 การแบ่งครั้งที่ 4 การแบ่งแยกหมวดย่อยให้มีเนื้อหาเฉพาะเจาะจงยิ่งขึ้น โดยการเติมจุดทศนิยม หมวด370 การศึกษา 371 โรงเรียน 371.1 การสอนและบุคลากร 371.11 ลักษณะและคุณสมบัติของครู 371.12 คุณสมบัติทางวิชาชีพครู 371.2 การบริหารการศึกษา 371.21 การรับนักเรียน 371.216 กระบวนการรับสมัคร
ระบบทศนิยมดิวอี้ (DDC): ตัวอย่างที่ 1 551.5 ส247อ 2543 เลขหมู่แทนเนื้อหาวิชา เลขผู้แต่ง ส หมายถึง อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่งอ หมายถึง อักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง ปีพ.ศ. ที่จัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้
ระบบทศนิยมดิวอี้ (DDC): ตัวอย่างที่ 2 Ref 420 T20M2003 The ก123อ 2541 Ann ธ322ร 2541 วิทยานิพนธ์ รายงานประจำปี หนังสืออ้างอิงภาษาอังกฤษ
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC) ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน(Library of CongressClassificationSystem - -LC ) - ผู้คิดค้นระบบนี้คือเฮอร์เบิร์ตพุตนัม (Herbert Putnum)- มีการกำหนดสัญลักษณ์เป็นตัวอักษรโรมัน 20 หมวดใช้อักษร A – Z โดยใช้ตัวเลขอารบิค 1 - 9999 และจุดทศนิยมเข้ามากำหนดเป็นสัญลักษณ์แทนการแบ่งหมวดหมู่ย่อย ** ยกเว้น I O W X Y **
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC) การแบ่งครั้งที่ 1 แบ่งออกเป็น 20 หมวดใหญ่ (A-Z) การแบ่งครั้งที่ 2 ภายในหมวดใหญ่ ยังแบ่งเป็นหมวดย่อยจำนวนมากน้อยต่างๆกันไป และยังคงใช้สัญลักษณ์อักษร ยกเว้น E-F และ Z ไม่มีการแบ่งหมวดหมู่ครั้งต่อมา การแบ่งครั้งที่ 3 ภายในหมวดย่อย สามารถจำแนกให้เนื้อหาละเอียดยิ่งขึ้น โดยการเพิ่มเลขอารบิกผสมเข้าไป 1-9999 กับทศนิยมได้อีกไม่จำกัดตำแหน่ง (ดังนั้นเลขหมู่ของระบบ LC จึงมีสั้น-ยาวแตกต่างกันไป ตัวอย่างเลขเรียกหนังสือในระบบ LC
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC): การแบ่งครั้งที่ 1 การแบ่งครั้งที่ 1 แบ่งออกเป็น 20 หมวดใหม่ (A-Z) A = General work (เรื่องทั่วไปความรู้ทั่วไป)B = Philosophy, Psychology , Religion (ปรัชญาจิตวิทยาและศาสนา)C = Auxiliary science of History (general) ประวัติศาสตร์การศึกษาD = History : Generaland old world (ประวัติศาสตร์ : และประวัติ ศาสตร์โลกสมัยเก่าซีกโลกตะวันออกได้แก่ยุโรปเอเชียและแอฟริกา)E - F = History : America(Western hemisphere ) (ประวัติศาสตร์ : อเมริกา ซีกโลกตะวันตกได้แก่อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้)G = Geography , maps, anthropology, recrention ( ภูมิศาสตร์แผนที่ มานุษยวิทยานันทนาการ)
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC): การแบ่งครั้งที่ 1 การแบ่งครั้งที่ 1 แบ่งออกเป็น 20 หมวดใหม่ (A-Z) (ต่อ) H = Social science( สังคมศาสตร์)J = Politcal science (รัฐศาสตร์)K = Law (กฎหมาย) L = Education (การศึกษา) M = Music and books on music ( ดนตรีและหนังสือเกี่ยวกับดนตรี) N = Fine Arts (วิจิตรศิลป์) P = Philology and literatures (ภาษาศาสตร์และวรรณคดี) Q = Sciences (วิทยาศาสตร์) R = Medicine (การแพทย์)
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC): การแบ่งครั้งที่ 1 การแบ่งครั้งที่ 1 แบ่งออกเป็น 20 หมวดใหม่ (A-Z) (ต่อ) S = Agriculture (การเกษตร) T = Technology (เทคโนโลยี) U = Military science (การทหาร) V = Naval science (นาวิกศาสตร์) Z = Bibliography, Library science (บรรณานุกรมบรรณารักษ์ สารสนเทศศาสตร์)
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC): การแบ่งครั้งที่ 2 การแบ่งครั้งที่ 2 ภายในหมวดใหญ่ ยังแบ่งเป็นหมวดย่อยจำนวนมากน้อยต่างกันไป และยังคงใช้สัญลักษณ์อักษร ยกเว้น E-F และ Z ไม่มีการ แบ่งหมวดหมู่ครั้งต่อมา ตัวอย่าง เช่น หมวด Q วิทยาศาสตร์ทั่วไป คณิตศาสตร์QA คณิตศาสตร์QB ดาราศาสตร์QD เคมีQE ธรณีวิทยาQH ชีววิทยาQK พฤษศาสตร์QL สัตววิทยาQM กายภาคศาสตร์QP สรีรศาสตร์QR จุลชีววิทยา
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC): การแบ่งครั้งที่ 3 การแบ่งครั้งที่ 3 ภายในหมวดย่อย สามารถจำแนกให้เนื้อหาละเอียดยิ่งขึ้น โดยการเพิ่ม เลขอารบิกผสมเข้าไป 1-9999 กับทศนิยมได้อีกไม่จำกัดตำแหน่ง (ดังนั้นเลขหมู่ของระบบ LC จึงมีสั้น-ยาวแตกต่างกันไป ตัวอย่าง เช่น หมวด HA สถิติ สามารถแบ่งย่อยได้อีก เช่น HA19 ประวัติสถิติ HA35.15 ปัญหาการเรียนการสอนวิชาสถิติ HA1107 ข้อมูลสถิติทั่วไปเกี่ยวกับยุโรป HA4011.5 ข้อมูลสถิติเกี่ยวกับประเทศตาฮิติ
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC): ตัวอย่าง RefPL4187C3422003 LB305ก342ส2547 1 Theส432ก2549 2 1 3 4 3 4 2 3 5 5 5 1 = สัญลักษณ์พิเศษ 2 = เลขหมู่หนังสือ 3 = เลขผู้แต่ง 4 = อักษรชื่อเรื่อง 5 = ปีพิมพ์
เลขเรียกหนังสือ(Call Number) เลขเรียกหนังสือ (Call Number)ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 4 ส่วน 1. เลขหมู่หนังสือ = แสดงเนื้อหาหรือวิธีประพันธ์ของหนังสือ 2. เลขผู้แต่ง = ประกอบด้วยอักษรและตัวเลข 3. อักษรชื่อเรื่อง = เป็นพยัญชนะตัวแรกของชื่อหนังสือ4. ปี พ.ศ. ที่พิมพ์ = แสดงปีที่พิมพ์ของเนื้อหา
การจัดหมวดหมู่และการจัดเรียงหนังสือบนชั้นการจัดหมวดหมู่และการจัดเรียงหนังสือบนชั้น หนังสือที่ห้องสมุดไม่นิยมกำหนดเลขหมู่ หนังสือที่ใช้อ่านเพื่อความเพลิดเพลินมากกว่าเพื่อประโยชน์ เช่น นวนิยาย รวมเรื่องสั้น และหนังสือสำหรับเด็ก การเรียงหนังสือบนชั้น
สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ Ref แทนหนังสืออ้างอิง นวแทนหนังสือนวนิยายภาษาไทย Fic แทนหนังสือนวนิยายภาษาต่างประเทศ รส แทนเรื่องสั้น Ann แทนรายงานประจำปี The แทนวิทยานิพนธ์ Gov แทนสิ่งพิมพ์รัฐบาล
ประเภทของสารสนเทศลักษณะพิเศษ 8 ประการ • สิ่งพิมพ์รัฐบาล • วารสาร • หนังสือพิมพ์ • จุลสาร • กฤตภาค • สื่อโสตทัศน์ • วัสดุย่อส่วน • วัสดุอิเล็กทรอนิกส์
ลักษณะการจัดเก็บ • สิ่งพิมพ์รัฐบาล จัดเก็บได้ 2 แบบ คือ จัดรวมกับหนังสือในห้องสมุด หรือจัดแยกออกจากหนังสือและทรัพยากรสารสนเทศอื่นๆ • 2. วารสาร การจัดเก็บแบ่งเป็น วารสารฉบับใหม่ และฉบับย้อนหลัง • 3. หนังสือพิมพ์ หนังสือพิมพ์ฉบับใหม่ จะใส่ไม้แขวนไว้บริการที่ชั้นวางหนังสือพิมพ์ และหนังสือพิมพ์ฉบับเก่าหรือฉบับย้อนหลัง นิยมเก็บแยกต่างหาก • 4. จุลสาร เก็บได้ 2 แบบคือ จัดเก็บโดยการใช้ระบบการจัดหมู่ หรือจัดเก็บโดยการกำหนดหัวเรื่อง (Subject) โดยแบ่งหัวเรื่องออกเป็นเรื่องๆ ตามลำดับ ก-ฮ • 5. สื่อโสตทัศน์ จัดหมวดหมู่ตามระบบ LC และผสมสัญลักษณ์แทนประเภทวัสดุ
สื่อโสตทัศน์ (Audio-visual materials) จัดหมวดหมู่ตามระบบ LC และผสมสัญลักษณ์แทนประเภทวัสดุ สัญลักษณ์ที่ใช้มีดังนี้ ซีดีรอม CD ซีดีรอมบันทึกเสียง Audio-cd วีซีดี VCD วิดีโอ VT เทปคลาสเซ็ต TC สไลด์ SL หมวดภาพยนตร์ VCDM
จงเรียงหนังสือจากเลขหมู่ต่อไปนี้จงเรียงหนังสือจากเลขหมู่ต่อไปนี้ QA58 T15P 2006 P401 J306M 2005 K39 F29R 2004 HF412 B61M 2007 HF431 B61M 2008 2 3 4 5 1 310 ท41บ 2519 658.03 ร289ษ 2548 420 ก28ส 2541 808.19 ด410ร 2543 658.03 ร289ษ 2549 3 1 2 5 4