1 / 75

การประเมินความเสี่ยงและ การสำรวจสถานที่ปฏิบัติงาน

การประเมินความเสี่ยงและ การสำรวจสถานที่ปฏิบัติงาน. เพ็ญศรี อนันตกุลนธี สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. การประเมินความเสี่ยง ? Risk Assessment ?. ความเสี่ยง ? Risk?. ความเ สี่ยง (Risk).

Download Presentation

การประเมินความเสี่ยงและ การสำรวจสถานที่ปฏิบัติงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินความเสี่ยงและการสำรวจสถานที่ปฏิบัติงานการประเมินความเสี่ยงและการสำรวจสถานที่ปฏิบัติงาน เพ็ญศรี อนันตกุลนธี สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  2. การประเมินความเสี่ยง ? Risk Assessment ? Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  3. ความเสี่ยง ? Risk? Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  4. ความเสี่ยง (Risk) • ความเป็นไปได้ หรือโอกาสที่สิ่งคุกคามแสดงความเป็นอันตราย ตั้งแต่ระดับเล็กน้อย จนถึงมีความรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  5. ความสำคัญของการประเมินความเสี่ยงความสำคัญของการประเมินความเสี่ยง • เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับตอบคำถามในสิ่งที่สนใจว่า ความเสี่ยงทั้งทางสุขภาพและสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กับสิ่งคุกคามอย่างไร และมีความเสี่ยงอยู่ในระดับใด Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  6. สิ่งคุกคาม ? Hazard ? Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  7. สิ่งคุกคาม (Hazard) สิ่งใดก็ตามที่มีศักยภาพในอันที่จะก่อให้เกิดอันตราย(แก่ชีวิต การบาดเจ็บ ผลกระทบต่อ สุขภาพกายและใจ) เช่น สารเคมี อุปกรณ์ รังสี พลังงาน วิธีการทำงาน หรือสภาพแวดล้อมการทำงาน Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  8. สิ่งแวดล้อมการทำงาน(Working Environment) สิ่งต่างๆที่รอบตัวคนในขณะทำงาน เช่น คน สัตว์ สิ่งของ พลังงาน ปัจจัยทางจิตวิทยาสังคม ซึ่งอาจทำอันตรายต่อสุขภาพของคนในขณะทำงานหรือไม่ก็ได้ แต่หากอยู่ในระดับที่ไม่เหมาะสม จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  9. ความสามารถในการที่จะทำอันตรายแก่สุขภาพอนามัยของผู้ปฏิบัติงานได้นั้น เรียกว่า ศักยภาพเชิงอันตรายของสิ่งแวดล้อม • สิ่งแวดล้อมที่มีศักยภาพเชิงอันตราย จะเรียกว่าเป็น สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัย (Health Hazard) Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  10. สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยสิ่งคุกคามสุขภาพอนามัย ในทางอาชีวอนามัย แบ่งได้เป็น สิ่งคุกคามสุขภาพทางกายภาพ (Physical Health Hazards) สิ่งคุกคามสุขภาพทางเคมี (Chemical Health Hazards) สิ่งคุกคามสุขภาพทางชีวภาพ (Biological Health Hazards) ปัจจัยทางจิตวิทยาสังคม (Psychosocial Health Hazards) การยศาสตร์(Ergonomics) การบาดเจ็บจากการทำงาน Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  11. สิ่งคุกคามสุขภาพทางกายภาพ (Physical Health Hazards) แสง เสียง ความสั่นสะเทือน ความดันบรรยากาศ อุณหภูมิที่สูง/ต่ำเกินไป (ความร้อน ความเย็น) รังสีแตกตัวและไม่แตกตัว (Ionizing and Non-ionizing Radiation) เป็นต้น Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  12. สิ่งคุกคามสุขภาพทางเคมี (Chemical Health Hazards) สารเคมีชนิดต่างๆในรูปของแข็ง ของเหลว ก๊าซ ฝุ่น ฟูม ควัน เส้นใย ไอระเหย ละอองไอ เป็นต้น มีอันตรายทั้งแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง อาจก่อให้เกิดอัคคีภัยและการระเบิด Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  13. สิ่งคุกคามสุขภาพทางชีวภาพ (Biological Health Hazards) เชื้อโรคต่างๆ ไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา สิ่งมีชีวิตต่างๆ เป็นต้น Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  14. สิ่งคุกคามสุขภาพทางจิตวิทยาสังคม (Psychosocial Health Hazards) ช.ม.การทำงาน ค่าตอบแทน ผู้ร่วมงาน นายจ้าง ฯลฯ มีผลต่อการเกิดความเครียดจากการทำงานและ การเจ็บป่วยของผู้ปฏิบัติงาน Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  15. ปัจจัยทางเออร์กอนอมิคส์ (Ergonomics) • เออร์กอนอมิคส์ ( Ergonomics ) • มีที่มาจากคำผสมในภาษากรีก คำว่า • ergon = work (งาน) และ • nomos = natural laws (กฏระเบียบหรือ วิทยาศาสตร์) Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  16. คำแปลตามรากศัพท์ กฏระเบียบของงาน • คำที่ใช้เรียกอื่นๆ • เออร์กอนอมิคส์ /วิทยาการจัดสภาพงาน • สมรรถยะศาสตร์ • การยศาสตร์ Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  17. การออกแบบงานให้เหมาะสมกับคน หมายถึง งานนั้นจะต้องเหมาะสมกับ • ลักษณะกายวิภาค สรีระ และ จิตวิทยา ของบุคคล เพื่อให้คนนั้นๆ ทำงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและมีความสุขสบายด้วย Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  18. ความไม่เหมาะสมทางกายวิภาค สรีระ และจิตวิทยา - เกิดความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน - ผู้ปฏิบัติงานเกิดความเหนื่อยล้า - ผลผลิตลดต่ำลงทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  19. อุบัติเหตุ Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  20. 1. Direct Cost มีการใช้จ่ายเป็นเงินโดยตรง • - ค่ารักษาพยาบาล • ค่าทดแทน ค่าทำศพ • 2. Indirect Cost ค่าใช้จ่ายที่ซ่อนเร้น แฝง • - เสียเวลา ค่าล่วงเวลา เสียผลผลิต • - ค่าซ่อมแซมเครื่องจักร • - ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพ ค่าอบรมทดแทน • - เสียเวลาเพื่อนร่วมงาน ช่วยเหลือ มุงดู • - เสียขวัญ เสียกำลังใจ เสียภาพพจน์ที่ดี Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  21. การประเมินความเสี่ยง ? Risk Assessment ? Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  22. การประเมินความเสี่ยง กระบวนการที่ใช้วิเคราะห์โอกาสที่ผู้ปฏิบัติงานอาจเกิดการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยจากการปฏิบัติงาน Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  23. การประเมินความเสี่ยง กระบวนการศึกษาอย่างเป็นระบบเพื่อพรรณนาและวัดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น โดยการพิจารณาความสัมพันธ์ของสิ่งคุกคาม กระบวนการ การกระทำ และสถานการณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับตอบคำถามในสิ่งที่สนใจว่า ความเสี่ยงทั้งทางด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม มีความสัมพันธ์กับสิ่งคุกคามอย่างไร และมีความเสี่ยงอยู่ในระดับใด Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  24. Qualitative เชิงคุณภาพ การอธิบายและบ่งชี้ถึงแนวโน้ม/โอกาสของการเกิดการบาดเจ็บ/เจ็บป่วยภายใต้สภาพการณ์หนึ่งๆ • Quantitative เชิงปริมาณ การคาดการณ์ในเชิงปริมาณ จากข้อมูลตัวเลข สถิติ รูปแบบความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ เช่น การคาดการณ์เกี่ยวกับอัตราป่วยในประชากรกลุ่มเสี่ยง ฯลฯ Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  25. วัตถุประสงค์ • เพื่อทราบว่าในสถานที่ทำงานนั้นๆ มีโอกาสที่สิ่งคุกคามในเรื่องต่างๆ จะก่อให้เกิดอันตรายมากน้อยเพียงใด • นำไปสู่การพิจารณาที่จะดำเนินการใดๆ เพื่อแก้ปัญหานั้นได้อย่างเหมาะสม Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  26. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง • การประเมินสิ่งคุกคาม (Hazard identification) • การประเมินการสัมผัส (Exposure assessment) • การประเมินการสัมผัสการตอบสนอง (Dose-response assessment) • การพรรณนาลักษณะความเสี่ยง (Risk characterization) Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  27. การประเมินสิ่งคุกคาม (Hazard identification) การสืบค้น/ค้นหา สิ่งคุกคามสุขภาพในการทำงาน Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  28. อะไรบ้างที่อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บ/เจ็บป่วยอะไรบ้างที่อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บ/เจ็บป่วย - การออกแบบสถานที่ทำงานที่ไม่ดี - การปฏิบัติงานที่มีอันตราย - การติดตั้งเครื่องจักร อุปกรณ์ที่ไม่เหมาะสม - การปฏิบัติงานที่ไม่ถูกต้อง - การใช้งาน ดูแลซ่อมบำรุงเครื่องจักร อุปกรณ์ที่ไม่เหมาะสม - ผู้ปฏิบัติงานสัมผัสกับสิ่งคุกคามสุขภาพ/สิ่งแวดล้อม การทำงานที่ไม่เหมาะสม Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  29. การประเมิน/สืบค้นสิ่งคุกคาม ควรทำอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะ • ก่อนมีการปฏิบัติงานจริงภายหลังการออกแบบ • มีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำงาน สถานที่ปฏิบัติงาน อุปกรณ์ สารเคมี • การนำสารเคมี เครื่องจักร อุปกรณ์ ระบบงานใดๆ เข้ามาใช้ในกระบวนการทำงาน • เมื่อมีรายงานการบาดเจ็บ/เจ็บป่วยของผู้ปฏิบัติงาน Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  30. การประเมินการสัมผัส (Exposure assessment) เป็นการประเมินโอกาสที่คนอาจจะได้รับบาดเจ็บ/เจ็บป่วยจากการสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพที่เกิดขึ้น(ที่ได้จากขั้นตอนการประเมิน/ สืบค้นสิ่งคุกคาม) โดยพิจารณาว่า - จะมีผู้ใด(ไม่ว่าผู้ปฏิบัติงานหรือผู้มาเยี่ยมชม/ผู้รับบริการ)มีโอกาสที่จะสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพที่มีอยู่/ที่เกิดขึ้นหรือไม่ - มีมาตรการป้องกันสุขภาพและความปลอดภัยใดๆให้กับบุคคลดังกล่าวหรือไม่ - มาตรการป้องกันที่มีอยู่นั้นมีประสิทธิภาพเพียงพอหรือไม่ Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  31. การประเมินการสัมผัสการตอบสนองการประเมินการสัมผัสการตอบสนอง (Dose-response assessment) ประเมินผลตอบสนองทางสุขภาพที่เกิดจากการสัมผัส • การพรรณนา/บรรยาย ลักษณะความเสี่ยง (Risk characterization) การอธิบายความเสี่ยงที่เกิดขึ้น Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  32. การประเมิน : - การประเมินทางสิ่งแวดล้อม การใช้เครื่องมืออ่านค่าโดยตรง การเก็บตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อมและ การวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ - การประเมินทางสุขภาพ การตรวจสุขภาพทั่วไปและการตรวจพิเศษ การเก็บตัวอย่างทางชีวภาพ และ การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  33. การประเมินความเสี่ยงอย่างง่ายการประเมินความเสี่ยงอย่างง่าย Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  34. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง • จำแนกขั้นตอนการทำงาน • ระบุสิ่งคุกคาม • กำหนดค่าความเสี่ยง • ตัดสินว่าเป็นความเสี่ยงที่ยอมรับได้หรือไม่ • เตรียมแผนปฏิบัติ/ข้อแนะนำในการลดความเสี่ยง • ติดตามการปฏิบัติในการลดความเสี่ยง Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  35. จำแนกขั้นตอนการทำงาน ควรพิจารณา • ลักษณะงานภายนอกภายในสถานที่ทำงาน • ลำดับขั้นตอนในกระบวนการผลิต • กิจกรรมตามแผนการทำงานปกติ/ไม่ปกติ • ภารกิจของงานที่กำหนดไว้ให้แต่ละคน Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  36. จำแนกขั้นตอนการทำงาน รายละเอียดของข้อมูล • ระยะเวลา ความถี่ของงานทั้งหมดที่ปฏิบัติ • ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง • บุคคลอื่นที่อาจได้รับผลกระทบ • การฝึกอบรมของผู้ปฏิบัติงาน • เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ทำงาน • ข้อมูลสารเคมี/วัตถุดิบที่ใช้ Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  37. จำแนกขั้นตอนการทำงาน • ลักษณะทางกายภาพของสารที่ใช้ • ขนาด รูปร่าง และน้ำหนักของวัตถุที่เคลื่อนย้าย • มาตรการควบคุมที่ใช้ และควรจะต้องมี • ข้อมูลการเจ็บป่วย หรือการเกิดอุบัติเหตุ Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  38. JOB SAFETY ANALYSIS (JSA) Job Analysis • ความรุนแรง Severity • ความถี่ Frequency • โอกาส Probability Critical job Break job into step Monitor Set standard of job Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  39. Job Safety Analysis (JSA) : งานเชื่อมโลหะ ------------------------------------------------------------------------------------------------------- ขั้นตอนการทำงานอันตรายมาตรการความปลอดภัย ------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. เตรียมอุปกรณ์ ไฟฟ้าลัดวงจร - การบำรุงรักษาอุปกรณ์ 2. ขณะเชื่อมโลหะฟูมโลหะ - ระบบระบายอากาศเฉพาะที่ UV (cataract) PPE : กระบังหน้า respirator 3. …………… -------------------------------------------------------------------------------------------------------- JSA JSM: Job safety manual SOP: Standard operating procedure Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  40. ระบุสิ่งคุกคาม ควรพิจารณา • มีแหล่งที่เป็นอันตรายหรือไม่ • ใคร อะไรที่จะได้รับอันตราย • อันตรายเกิดขึ้นอย่างไร • ประเภทของการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยที่อาจจะเกิดขึ้นได้ Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  41. ระบุสิ่งคุกคาม เครื่องมือที่ใช้ • การขอคำปรึกษา • การตรวจตรา • การศึกษาจากข้อมูลบันทึกการเจ็บป่วย อุบัติเหตุ • การใช้แหล่งข้อมูลวิชาการ • การวิเคราะห์งาน Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  42. การกำหนดค่าความเสี่ยงการกำหนดค่าความเสี่ยง 1. การประมาณค่าความรุนแรงของอันตรายที่อาจเกิดขึ้น • อันตรายเล็กน้อย • อันตรายปานกลาง • อันตรายร้ายแรง Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  43. การกำหนดค่าความเสี่ยงการกำหนดค่าความเสี่ยง 2. การประมาณโอกาสของอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น • ไม่น่าจะเกิด • เกิดขึ้นได้น้อย • เกิดขึ้นได้มาก Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  44. การยอมรับความเสี่ยง ความเสี่ยง - โอกาสการเกิด * ความรุนแรงของผลลัพธ์ Prob./ Likelihood * Severity ในบางกรณี ไม่ควรยอมรับความเสี่ยง เช่น การสูญเสียชีวิต Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  45. ตัดสินว่าเป็นความเสี่ยงที่ยอมรับได้หรือไม่ตัดสินว่าเป็นความเสี่ยงที่ยอมรับได้หรือไม่ ค่าความเสี่ยงแบ่งออกเป็น 5 อันดับ • ระดับความเสี่ยงเล็กน้อย • ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ • ระดับความเสี่ยงปานกลาง • ระดับความเสี่ยงสูง • ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้ Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  46. หลีกเลี่ยง (Avoid) ยอมรับได้ (Accept) ความเสี่ยง (Risk) ป้องกัน (Prevent) ยังให้มีได้ (Retain) ควบคุม (Control) ลด (Mitigate) Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  47. เตรียมแผน/ข้อแนะนำในการลดความเสี่ยงเตรียมแผน/ข้อแนะนำในการลดความเสี่ยง หลักการควบคุม • การควบคุมอันตรายที่แหล่งกำเนิด • การควบคุมที่ทางผ่านระหว่างแหล่งกำเนิดกับตัวผู้ปฏิบัติงาน • การควบคุมที่ผู้ปฏิบัติงาน Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  48. ติดตามการปฏิบัติในการลดความเสี่ยงติดตามการปฏิบัติในการลดความเสี่ยง • ข้อมูลการติดตามตรวจสอบเชิงรุก • ข้อมูลการติดตามตรวจสอบเชิงรับ Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  49. การควบคุมความเสี่ยง (Risk control) กระบวนการที่ใช้ในการ - กำหนดมาตรการป้องกันที่เป็นไปได้ ในการขจัด/ลดโอกาสที่จะเกดการบาดเจ็บ/เจ็บป่วยจากการปฏิบัติงาน - การนำมาตรการป้องกันดังกล่าวมาใช้ - การทบทวนเพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของมาตรการดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

  50. มาตรการป้องกันที่เป็นไปได้มาตรการป้องกันที่เป็นไปได้ - ความรุนแรงของสิ่งคุกคาม/ความเสี่ยง - องค์ความรู้ในการแก้ไขปัญหา การขจัดสิ่งคุกคาม/ความเสี่ยง - ความเหมาะสมของวิธีการ - ค่าใช้จ่าย Pensri A. 25 Dec08 for EnvOcc 10

More Related