1 / 23

15 . การวิจัยเชิงทดลอง

15 . การวิจัยเชิงทดลอง. ศึกษาจากสาเหตุไปหาผล เพื่อศึกษาตัวแปรที่เกี่ยวข้องนั้นเป็นสาเหตุที่ทำ ให้เกิดผลเช่นนั้น จริงหรือไม่. เป็นกระบวนการค้นหาความจริง ทฤษฎี หลักการ เทคโนโลยี หรือองค์ความรู้ใหม่ๆ. การวิจัยเชิงทดลอง. ศึกษา

macon-dyer
Download Presentation

15 . การวิจัยเชิงทดลอง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 15.การวิจัยเชิงทดลอง

  2. ศึกษาจากสาเหตุไปหาผล เพื่อศึกษาตัวแปรที่เกี่ยวข้องนั้นเป็นสาเหตุที่ทำ ให้เกิดผลเช่นนั้น จริงหรือไม่ เป็นกระบวนการค้นหาความจริง ทฤษฎี หลักการ เทคโนโลยี หรือองค์ความรู้ใหม่ๆ การวิจัยเชิงทดลอง ศึกษา ความเปลี่ยนแปลงของตัวแปรที่เกี่ยวข้องภายใต้เงื่อนไขที่มีการควบคุมโดยกระบวนการวิจัย

  3. วัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงทดลองวัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงทดลอง • เพื่อค้นหาข้อเท็จจริงของสาเหตุที่ทำให้เกิดผลหรือพฤติกรรมต่างๆ • เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลของตัวแปร • หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ • เพื่อนำผลการวิจัยไปประยุกต์ สร้างสรรค์ ทฤษฎี หลัก กฎ เทคโนโลยี องค์ความรู้ หรือเทคนิคใหม่ๆ • เพื่อวิเคราะห์หรือค้นหาข้อบกพร่องของระบบ เพื่อนำข้อมูลไปพิจารณาปรับปรุงแก้ไขระบบให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น • เพื่อนำผลการทดลองไปใช้

  4. องค์ประกอบของการวิจัยเชิงทดลององค์ประกอบของการวิจัยเชิงทดลอง 1. กลุ่มทดลอง (Experimental Group) กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการจัดกระทำในการทดลอง

  5. องค์ประกอบของการวิจัยเชิงทดลององค์ประกอบของการวิจัยเชิงทดลอง 2. กลุ่มควบคุม (Control Group) กลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะเหมือนกลุ่มทดลองทั้งจำนวนและคุณ สมบัติทั่วๆ ไป แต่ไม่ได้รับการทดลอง ถูกปล่อยให้เป็นไปตามสภาพแวดล้อมปกติที่เป็น อยู่เดิม เพื่อประโยชน์ การเปรียบเทียบพฤติกรรมต่าง ๆ กับกลุ่มทดลอง ที่ถูกกระทำ กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม .ให้อาหารเสริม .ไม่ให้อาหารเสริม

  6. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลองตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลอง 1.ตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรต้น (Independent Variable) เป็นตัวแปรที่ผู้วิจัยกำหนดขึ้นเพื่อที่จะทำการทดลองว่าเป็น “สาเหตุ” หรือไม่ ตัวแปรอิสระนี้บางทีเรียกว่า ตัวแปรการทดลอง (Experimental variable) • ปุ๋ยสูตรต่าง ๆ • สารเคมีชนิดต่าง ๆ • ข้าวโพดสายพันธุ์ต่าง ๆ

  7. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลองตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลอง 1.ตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรต้น (Independent Variable) เป็นตัวแปรที่ผู้วิจัยกำหนดขึ้นเพื่อที่จะทำการทดลองว่าเป็น “สาเหตุ” หรือไม่ ตัวแปรอิสระนี้บางทีเรียกว่า ตัวแปรการทดลอง (Experimental variable) • ปุ๋ยสูตรต่าง ๆ • สายพันธุ์ข้าวโพด • สารเคมีชนิดต่าง ๆ

  8. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลองตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลอง เป็นตัวแปรที่ต้องการทราบว่าเป็น “ผล” ที่เกิดจาก “สาเหตุ” หรือไม่ 2.ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ตัวแปรต้น/ตัวแปรอิสระ กลุ่มทดลอง ตัวแปรตาม • ปุ๋ย สูตร 15-15-15 อัตราการใช้ต่างกัน ผลผลิตต่อไร่ 100 กก./ไร่ 1,000 กก./ไร่ 1,500 กก./ไร่ 200 กก./ไร่ 1,500 กก./ไร่ 300 กก./ไร่

  9. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลองตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลอง เป็นตัวแปรที่เกิดขึ้นและโดยที่ผู้วิจัยไม่ต้องการให้เกิดขึ้นหรือไม่ต้องการทราบ ตัวแปรชนิดนี้นักวิจัยสามารถกำหนดวิธีการควบคุมได้ จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ตัวแปรควบคุม (Control variable) 3.ตัวแปรแทรกซ้อน (Extraneous Variable) ตัวแปรต้น/ตัวแปรอิสระ กลุ่มทดลอง ตัวแปรตาม • ปุ๋ย สูตร 15-15-15 1,000 กก./ไร่ 100 กก./ไร่ อัตราการใช้ต่างกัน 1,500 กก./ไร่ 200 กก./ไร่ 1,500 กก./ไร่ 300 กก./ไร่ ตัวแปรแทรกซ้อน -แหล่งผลิต - พันธุ์มันสำปะหลัง -ความสม่ำเสมอ - พื้นที่ปลูก ในการใส่ปุ๋ย/ต้น - ดูแลรักษา

  10. ขั้นตอนในการวิจัยเชิงทดลองขั้นตอนในการวิจัยเชิงทดลอง

  11. ออกแบบการวิจัยเชิงทดลองออกแบบการวิจัยเชิงทดลอง และวางแผนการวิจัย เลือกหน่วยวิจัยมาเป็นกลุ่มตัวอย่าง จัดกลุ่มหน่วยวิจัยให้เป็นกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองอย่างมีความทัดเทียมกัน สุ่มเพื่อแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เลือกเครื่องมือวัดผลที่เหมาะสม ดำเนินการวิจัยนำทาง (Pilot study) กับกลุ่มเล็กๆ ดูก่อน เพื่อหาข้อบกพร่อง หรือตัวแปรแทรกซ้อนที่อาจจะมี ดำเนินการทดลอง

  12. การวางแผนการทดลอง(Research Design ) 1) แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomize Design ตัวย่อ CRD) หน่วยทดลองมีความสม่ำเสมอหรือใกล้เคียง กันมากที่ สุด ตัวอย่าง การเปรียบเทียบข้าวโพด 4 พันธุ์ (A, B, C, และ D) ผู้ทดลองใช้แผนการทดลองแบบ CRD จำนวน 3 ซ้ำ มีแผนผังการทดลองดังนี้ D A B C A B C D B D A c

  13. การวางแผนการทดลอง(Research Design ) 2. แผนการทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ภายในบล็อก (Randomized Complete Block Design ตัวย่อ RCB) หน่วยทดลองมีลักษณะแตกต่างกัน การจัดหน่วยทดลองที่มีลักษณะเหมือนกัน รวมเป็นกลุ่มเดียวกัน เรียกว่า บล็อก แต่ละบล็อกมีครบทุกทรีทเมนต์ ตัวอย่าง การเปรียบเทียบข้าวโพด 4 พันธุ์ (A, B, C, และ D)แปลงทดลองมีความอุดมสมบูรณ์ของดินต่างกัน แบ่งได้ 3 บล็อก ผู้ทดลองใช้แผนทดลอง แบบ RCD มีแผนผังการทดลองดังนี้ A ดี ปานกลาง ต่ำ

  14. การวิจัยเชิงทดลอง/เปรียบเทียบเทคโนโลยีการวิจัยเชิงทดลอง/เปรียบเทียบเทคโนโลยี 1.กำหนดปัญหา การระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาข้าว การใช้สารชีวินทรีย์ สารเคมี สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาข้าวได้ 2. ตั้งสมมุติฐาน ตัวแปรต้น สารชีวภัณฑ์ สารเคมี และชีววิธี ตัวแปรตาม จำนวนเพลี้ยกระโดดในนาข้าว

  15. 3. วางแผนการทดลอง RCB 6 กรรมวิธี ทำ 3 ซ้ำ T1 การใช้เชื้อราบิวเวอร์เรีย T2 การใช้เชื้อราเมตาไรเซียม T3 การใช้สารเคมีตามคำแนะนำ T4 การใช้สารเคมีตามเกษตรกร T5 การใช้ชีววิธีแบบเกษตรกร T6 ไม่ใช้ แปลงที่ 1 (ซ้ำที่ 1) แปลงที่ 2 (ซ้ำที่ 2) แปลงที่ 3 (ซ้ำที่ 3)

  16. การควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนการควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน กลุ่มทดลอง ตัวแปรแทรกซ้อน ตัวแปรต้น - อัตราการใช้ - ชนิดสารชีวภัณฑ์ - ชนิดสารเคมี - ชีววิธี • ดิน • พันธุ์ข้าว • - อายุข้าว • - การดูแลรักษา - การสุ่ม - การเพิ่มตัวแปร - ใช้สถิติควบคุม - การออกแบบการทดลอง

  17. 4. ดำเนินการตามแผนการทดลอง

  18. 5.เก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการทดลองอย่างครบถ้วน5.เก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการทดลองอย่างครบถ้วน • เครื่องมือ • แบบบันทึกข้อมูล • จำนวนเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล • จำนวนศัตรูธรรมชาติในแปลง • ต้นทุนในการผลิต • - ผลผลิตหลังเก็บเกี่ยว/องค์ประกอบผลผลิต

  19. แบบรายงานการสำรวจศัตรูพืชและศัตรูธรรมชาติมันสำปะหลัง ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัด.........................................(พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง) หมู่ที่......... ตำบล.................................. อำเภอ...................................จังหวัด.............................. ชื่อพันธุ์.................................................อายุ............(เดือน) วันที่สำรวจ........................................

  20. 6. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบสมมุติฐานด้วยค่าสถิติที่เหมาะสม

  21. การแปรผลและสรุปผล กราฟแท่งแสดงผลการทำงานของไฟโตอะเล็กซิน ในการทดลองกับสตรอเบอรี่เมื่อใส่สารผลิตภัณฑ์ทราฟอส การหาอัตราการงอกของเมล็ดถั่วเขียว

  22. สวัสดี

More Related