170 likes | 313 Views
สมาชิกในกลุ่ม. 1. นางสาว จิตจินดา มา กูลต๊ะ รหัส 5106105012 2. นาย ณัฐ พงศ์ พิทักษ์ รหัส 5106105023 3. นายนเรศ ศรีวิชัย รหัส 5106105037 4. นายปฐม พงษ์ บัวบาน รหัส 5106105043 5. นางสาวพินิต นันท์ กาดำ รหัส 5106105050. โรงเรียน พณิชย การลานนา เชียงใหม่.
E N D
สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวจิตจินดา มากูลต๊ะ รหัส 5106105012 2. นายณัฐพงศ์ พิทักษ์ รหัส 5106105023 3. นายนเรศ ศรีวิชัย รหัส 5106105037 4. นายปฐมพงษ์ บัวบาน รหัส 5106105043 5. นางสาวพินิตนันท์ กาดำ รหัส 5106105050
โรงเรียนพณิชยการลานนา เชียงใหม่ โรงเรียนพณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่ เป็นห้องสมุดขนาดเล็กได้มีการจัดเก็บข้อมูลในลักษณะฐานข้อมูล แต่ไม่ได้มีการนำไปใช้เป็นรูปธรรมและมีการจัดเก็บเอาไว้เป็นหมวดหมู่ ห้องสมุดแห่งนี้มีบรรณารักษ์ที่เป็นเจ้าหน้าที่ประจำเพียง 1 คน เพื่อคอยให้บริการแก่นักเรียนและอาจารย์ จากการได้ศึกษาข้อมูลของห้องสมุดโรงเรียนพณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่ พบว่ามีการจัดเก็บข้อมูลบ้างส่วนไว้ในคอมพิวเตอร์ แต่บางส่วนก็เก็บในรูปแบบของเอกสาร และมักมีปัญหาเกี่ยวกับการค้นหาหนังสือที่ยังคงมีอยู่ในปัจจุบันและที่จัดเก็บไว้ก่อนหน้าแล้ว การจัดเก็บแฟ้มข้อมูลมักจะเกิดการสูญหายของข้อมูล เกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูล รวมไปถึงการตรวจสอบรายการหนังสือที่มีอยู่ก็ทำได้ยากลำบาก การค้นหาข้อมูลก็ทำได้ยาก ระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลหนังสือไม่มีประสิทธิภาพ จึงเกิดปัญหาในด้านการสืบค้นหนังสือและการออกรายงาน ทำให้เกิดความลำบากในการสืบค้นและการออกรายงาน ส่งผลให้การบริการทำได้อย่างล่าช้า เนื่องจากไม่สามารถหาหนังสือที่ต้องการได้
โรงเรียนพณิชยการลานนา เชียงใหม่ จึงได้มีแนวคิดในการจัดสร้างระบบฐานข้อมูลงานบริการสืบค้นหนังสือห้องสมุดโรงเรียนพณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูล การสืบค้นข้อมูล การประมวลผลและการออกรายงาน เป็นไปตามความต้องการของทางห้องสมุด เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ โดยใช้ภาษาที่เขียนคือ VB.net
วัตถุประสงค์ของโครงการ:วัตถุประสงค์ของโครงการ: - เพื่อพัฒนาโปรแกรมระบบบริการการสืบค้นห้องสมุด โรงเรียนพณิชยการลานนา เชียงใหม่ - เพื่อลดปัญหาการค้นหาหนังสือ - เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล - เพื่อทำการแก้ไขปรับปรุงข้อมูลต่าง ๆ ที่จำเป็นได้ง่ายและแม่นยำ - เพื่อสร้างฐานข้อมูลหนังสือให้กับโรงเรียนพณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่ - เพื่อลดปัญหาการเก็บข้อมูลที่ซ้ำซ้อนในฐานข้อมูล - เพื่อสร้างระบบออกรายงานหนังสือในห้องสมุดได้
Context DFD Diagram ER-Diagram
ประเภทหนังสือ การแบ่งตามเนื้อหากว้างๆได้แก่ 1. หนังสือตำราและสารคดี 2. หนังสือบันเทิงคดี การแบ่งตามเนื้อหาย่อยๆได้แก่ 1. หนังสือสารคดี (Non - Fiction) 2. หนังสือนวนิยาย (Fiction) 3. หนังสืออ้างอิง (Reference Book) การแบ่งตามลักษณะการแต่ง 1. ร้อยแก้ว (Prose) 2. ร้อยกรอง (Verse) http://www.keereerat.ac.th/wbiprinting/WBI/wbi_7/Lesson/compos_9.htm
หมวดหมู่หนังสือ ระบบการจัดหมู่หนังสือแบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) เรียกอีกอย่างว่า DC เป็นระบบที่นิยม ใช้แพร่หลายในห้องสมุดขนาดเล็กหรือกลาง เช่นห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดประชาชน เป็นต้นโดยผู้คิดค้นระบบคือ นาย เมลวิลดิวอี้ ( Melvil Dewey ) ระบบนี้แบ่งสรรพวิทยาการในโลกออกเป็น 10 หมวดใหม่โดยใช้ตัวเลขอารบิกเป็นสัญลักษณ์ ดังนี้100 ปรัชญา 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ 200 ศาสนา 700 ศิลปะและการบันเทิง 300 สังคมศาสตร์ 800 วรรณคดี 400 ภาษาศาสตร์ 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิประเทศ และการท่องเที่ยว 500 วิทยาศาสตร์ 000 หนังสือที่จัดเข้าหมวดอื่นไม่ได้ http://www.lib.ru.ac.th/knowledge/is103/les_06_learn01.html
จบการนำเสนอ ขอบคุณทุกท่าน ครับ/ค่ะ