220 likes | 428 Views
การกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการ. 24 มีนาคม 2557. วสุมดี วสี นนท์ ผู้ช่วยเลขาธิการ สายพัฒนามาตรฐานการ กำกับ สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย. Agenda. 1. การกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการ. การทดสอบภาวะวิกฤต ( Stress test). 2.
E N D
การกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการการกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการ 24 มีนาคม 2557 วสุมดี วสีนนท์ ผู้ช่วยเลขาธิการ สายพัฒนามาตรฐานการกำกับ สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
Agenda 1. การกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการ การทดสอบภาวะวิกฤต (Stress test) 2. การดำรงเงินกองทุนตามระดับความเสี่ยง ระยะที่ 2 (RBC 2) การบริหารความเสี่ยง (RM) และการกำกับดูแลธุรกิจที่ดี (CG) 3. 4.
การกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการการกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการ • RBC 2 • Life Stress test QIS1 • เริ่มแนวคิดการทดสอบภาวะวิกฤตสำหรับบริษัทประกันวินาศภัย • RBC2 (ต่อเนื่อง) • Non-life Stress test QIS1 • Life Stress test QIS2 • เริ่มแนวคิดการทดสอบภาวะวิกฤต (Stress test) สำหรับบริษัทประกันชีวิต • การกำกับการดำรงเงินกองทุนตามระดับความเสี่ยง (RBC 1) ERM 2557 2554 2555 2556 2560 2551 2556 2557 • ประกาศฯมาตรฐานขั้นต่ำการบริหารความเสี่ยง • จัดอบรม Compliance Officer • Hearing ประกาศมาตรฐานขั้นต่ำการบริหารความเสี่ยงฉบับที่ 2 • ประกาศฯควบคุมภายในมีผลบังคับใช้ • จัดทำฐานข้อมูลของ BoD
วัตถุประสงค์ของการทดสอบภาวะวิกฤตวัตถุประสงค์ของการทดสอบภาวะวิกฤต เสริมสร้างความเข้มแข็งของการกำกับความมั่นคงทางการเงินของธุรกิจประกันภัย (Prudential Supervisory) ยกระดับธรรมาภิบาลในการกำกับดูแลกิจการที่ดีของธุรกิจประกันภัย (Corporate Governance Supervisory) สร้างความเข้าใจและส่งเสริมให้ผู้บริหารและคณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการความเสี่ยงโดยรวม (Enterprise Risk Management: ERM) เตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจในขั้นตอนและวิธีการจัดทำการทดสอบภาวะวิกฤต ซึ่งเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของ ERM ช่วยให้บริษัทสามารถพัฒนา ประเมินกลยุทธ์และบริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึงแผนการบริหารเงินกองทุน 5
กรอบการทดสอบภาวะวิกฤตสำหรับบริษัทประกันชีวิตกรอบการทดสอบภาวะวิกฤตสำหรับบริษัทประกันชีวิต
สรุปผลการทดสอบ QIS 1 • สถานการณ์การทดสอบภาวะวิกฤตทั้ง 3 สถานการณ์ส่งผลกระทบต่ออัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนในระดับที่แตกต่างกัน • สถานการณ์ Financial crisis ส่งผลกระทบต่อบริษัทมากที่สุด โดยทำให้ค่า CAR เฉลี่ย ลดลง 132% CAR เฉลี่ย ณ สิ้นปี 2555 352% ผลกระทบของแต่ละ Prescribed Scenario ต่ออุตสาหกรรม
แนวทางการทดสอบภาวะวิกฤตของธุรกิจประกันวินาศภัยแนวทางการทดสอบภาวะวิกฤตของธุรกิจประกันวินาศภัย
วัตถุประสงค์ของ RBC 2 เพิ่มเติมการกำกับเงินกองทุนสำหรับความเสี่ยงที่ยังไม่ได้กำหนด ได้แก่ ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง และความเสี่ยงภายในกลุ่ม บูรณาการกระบวนการบริหารความเสี่ยง เช่น การใช้เครื่องมือทางการเงินในการลดหรือป้องกันความเสี่ยง (Hedging) เป็นต้น ทบทวน และพัฒนาหลักการกำหนดเงินกองทุน ค่าพารามิเตอร์สำหรับการกำกับเงินกองทุน และวิธีการประเมินราคาสินทรัพย์และหนี้สินให้มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
การดำเนินงานของโครงการ RBC 2
การบริหารความเสี่ยง (RM) และการกำกับดูแลกิจการที่ดี (CG)
วัตถุประสงค์ของ RM และ CG • กำหนดให้บริษัทต้องมีองค์ประกอบในการบริหารจัดการความเสี่ยงเพิ่มเติม • ยกระดับธรรมาภิบาลในการกำกับดูแลกิจการที่ดีของธุรกิจประกันภัย
การดำเนินการต่อไป RM และ CG • จัดทำฐานข้อมูลเกี่ยวกับคุณสมบัติของคณะกรรมการบริษัทประกันภัย • การประเมินตนเอง (Self Assessment) เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการบริษัทประกันภัย • ปรับปรุงประกาศมาตรฐานขั้นต่ำในการบริหารจัดการความเสี่ยงของบริษัทประกันภัย
AEC Road Map การขับเคลื่อนธุรกิจประกันภัยสู่อาเซียน 24 มีนาคม 2557
1. บริษัทมั่นคงทางการเงิน มีศักยภาพในการขยายตัว พัฒนาให้ผู้ประกอบการประกันภัยในประเทศ มีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ประกอบธุรกิจด้วยความเป็นมืออาชีพ รวมทั้งมีความพร้อมในด้านฐานเงินทุนที่แข็งแกร่ง มีแหล่งทุนเพียงพอ เทคโนโลยีระบบงานและบุคลากร เพื่อเตรียมพร้อมรับการแข่งขัน และการขยายตัวและรับโอนความเสี่ยงจากภาคธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. สภาพการแข่งขันที่ดี เอื้อให้เกิดการเติบโต เสริมสร้างสภาพการแข่งขัน ทั้งในจากผู้เล่นที่มีอยู่เดิมในตลาด ด้วยการผ่อนคลายการกำกับเบี้ยประกันภัย และอัตราค่าบำเหน็จ และยกระดับสภาพการแข่งขันด้วยการพิจารณาเปิดรับผู้เล่นรายใหม่ในอนาคต
3. โครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นและเอื้อต่อการขยายธุรกิจ บริษัทประกันภัยไทยมีความพร้อม สามารถขยายธุรกิจไปในต่างประเทศได้ เช่น การจัดตั้งสำนักงานและการเสนอขายผลิตภัณฑ์ประกันภัยในต่างประเทศ จึงต้องมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็น ทั้งในด้านกฎหมาย หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งความร่วมมือระหว่างหน่วยงานกำกับดูแลของแต่ละประเทศ เพื่อเปิดโอกาสให้บริษัทสามารถขยายธุรกิจไปในภูมิภาค ASEAN ได้