150 likes | 416 Views
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย. หลักการทำงาน. ความเชื่อมโยงกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม. ทำให้น้ำเสียมีคุณภาพดีขึ้น ช่วยลดมลพิษทางน้ำ การบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยลงสู่แม่น้ำ ทำให้ผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของสัตว์ในแม่น้ำลดลง และไม่ก่อให้เกิดการเจริญเติบโตของพืชที่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางน้ำ
E N D
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสียเทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย • หลักการทำงาน
ความเชื่อมโยงกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมความเชื่อมโยงกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม • ทำให้น้ำเสียมีคุณภาพดีขึ้น ช่วยลดมลพิษทางน้ำ • การบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยลงสู่แม่น้ำ ทำให้ผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของสัตว์ในแม่น้ำลดลง และไม่ก่อให้เกิดการเจริญเติบโตของพืชที่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางน้ำ • ทำให้สภาพแวดล้อมอุดมสมบูรณ์ขึ้น • ไม่ใช้สารเคมีในการบำบัด
ข้อดีและข้อด้อย • ข้อดี • แม่น้ำมีคุณภาพดีขึ้น • สามารถนำพืชที่ปลูกในแปลงบำบัดมาใช้ประโยชน์ได้ • กกกลม(จันทรบูรณ์) • ธูปฤาษี • หญ้าแฝกพันธุ์อินโดนีเซีย • ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการใช้สารเคมีบำบัดน้ำเสีย
ข้อดีและข้อด้อย • ข้อด้อย • ระยะเวลาในการเตรียมการนาน • ขั้นตอนในการทำการบำบัดน้ำเสียต้องใช้ระยะเวลาหลายวัน • พื้นที่ทีทำการบำบัดมีกลิ่นเหม็นเนื่องจากน้ำเสียที่ปล่อยลงแปลงบำบัด • ปริมาณน้ำที่ทำการบำบัดได้ขึ้นอยู่กับขนาดแปลงบำบัด • ใช้พื้นที่ในการทำการบำบัดน้ำเสียมาก • ใช้พลังงาน และค่าใช้จ่ายในการขนย้ายน้ำเสียมาก
ตัวอย่างการใช้งาน เทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย เป็นโครงการวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลแหลมผักเบี้ย อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี โดยมีการรวมน้ำเสียจากเทศบาลเมืองเพชรบุรี ส่งผ่านท่อลำเลียง มายังบ่อกักเก็บน้ำเสีย ก่อนไหลลงสู่แปลงบำบัด
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น • พื้นที่เพาะปลูกลดลง • เสียงบประมาณในการขนย้ายน้ำเสีย เนื่องจากในเขตชุมชนไม่มีพื้นที่เพียงพอ • น้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น • ในขั้นตอนการเตรียมสถานที่มีการเสียงบประมาณ • มีตะกอนที่เหลือจากการตกตะกอนของน้ำเสียเกิดขึ้น • มีตะกอนของน้ำเสียในบ่อบำบัด ทำให้บ่อบำบัดตื้นเขิน
แนวความคิดในการแก้ไขอุปสรรคดังกล่าวแนวความคิดในการแก้ไขอุปสรรคดังกล่าว • ทำการศึกษาการเพาะเลี้ยงปลา เพื่อที่จะนำมาเพาะเลี้ยงในแปลงบำบัดน้ำเสีย • ต้องเตรียมพื้นที่ขนาดที่ค่อนข้างกว้างเพื่อรอรับน้ำเสีย • สร้างบ่อบำบัดน้ำเสียให้ห่างไกลจากชุมชน • หาระยะทางที่ใกล้ที่สุดในการขนย้ายน้ำเสีย • ศึกษาตะกอนที่เหลือจากการบำบัดน้ำเสีย เพื่อนำไปประยุกต์ทำเป็นปุ๋ยในการเพาะปลูกพืช • ควรมีตาข่ายไว้ดักตะกอนเพื่อสะดวกในการเอาตะกอนขึ้นจากบ่อ
หากจะนำมาประยุกต์ใช้ต้องเตรียมการอย่างไรหากจะนำมาประยุกต์ใช้ต้องเตรียมการอย่างไร • จัดสรรพื้นที่ให้มีขนาดเหมาะสมกับสภาพชุมชน • หากต้องการนำพืชชนิดอื่นมาปลูกในแปลงบำบัดน้ำเสีย จะต้องเป็นพืชที่ทนต่อสภาพน้ำเสียได้ และมีคุณสมบัติในการบำบัดน้ำเสียได้ • ศึกษาการนำพืชมาใช้ในการบำบัดน้ำเสีย