741 likes | 1.5k Views
การวิเคราะห์ การจัดทำเครื่องมือ. จัดทำโดย หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. การวิเคราะห์การจัดทำเครื่องมือ. มี 4 ขั้นตอน 1. วิเคราะห์หลักสูตร 2. กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. กำหนดชนิดของเครื่องมือประเมิน 4. กำหนดเกณฑ์การประเมิน.
E N D
การวิเคราะห์ การจัดทำเครื่องมือ จัดทำโดย หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การวิเคราะห์การจัดทำเครื่องมือการวิเคราะห์การจัดทำเครื่องมือ มี 4 ขั้นตอน 1. วิเคราะห์หลักสูตร 2. กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. กำหนดชนิดของเครื่องมือประเมิน 4. กำหนดเกณฑ์การประเมิน
การวิเคราะห์หลักสูตร พิจารณาจาก จุดประสงค์รายวิชา มาตรฐาน รายวิชาหรือสมรรถนะรายวิชา และคำอธิบาย รายวิชา เมื่อสิ้นการเรียนการสอนของแต่ละ รายวิชาผู้เรียนต้องมีความรู้ความสามารถอะไร
การวิเคราะห์หลักสูตร จุดประสงค์รายวิชา เป็นตัวกำหนดต้องประเมินด้านใด มาตรฐานรายวิชาหรือสมรรถนะรายวิชา เป็นตัวกำหนดขอบเขตการสอนและการประเมิน คำอธิบายรายวิชา เป็นตัวกำหนดหน่วยการเรียน
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรตารางวิเคราะห์หลักสูตร วิทยาลัย..................................รหัสวิชา ................ชื่อวิชา.............................หน่วยกิต.......... ภาคเรียนที่.........ปีการศึกษา........................ผู้รับผิดชอบ.......................................................
2101-2001 งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 1 – 6 – 3 (Gasoline Engine) จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1.เข้าใจหลักการทำงานหน้าที่ระบบต่างๆของเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน 2.ใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ช่าง ได้ถูกต้องตามขั้นตอน 3.ถอดประกอบตรวจสภาพชิ้นส่วน ปรับแต่งและบำรุงรักษา เครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4.มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบสะอาด ประณีตปลอดภัยและรักษาสภาพแวดล้อม
สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการ ตรวจสอบบำรุงรักษา ปรับแต่งชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 2. ถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สลีนตามคู่มือ 3. ตรวจสภาพชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สลีนตามคู่มือ 4. บำรุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สลีนตามคู่มือ 5. ปรับแต่งเครื่องยนต์แก๊สลีนตามคู่มือ
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยใน การทำงาน การใช้เครื่องมืออุปกรณ์ช่างยนต์ หลักการทำงาน การถอดประกอบตรวจสภาพชิ้นส่วน ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง ระบบจุดระเบิดระบบหล่อลื่นระบบระบายความร้อนระบบไอดีและระบบไอเสีย การติดเครื่องยนต์ การปรับแต่งและบำรุงรักษาเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรตารางวิเคราะห์หลักสูตร วิทยาลัย เทคนิคประเทศไทย รหัสวิชา 2101-2001 ชื่อวิชา งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน หน่วยกิต1-6-3 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2557ผู้รับผิดชอบ นายศึกษา ชอบสอน
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรตารางวิเคราะห์หลักสูตร วิทยาลัย เทคนิคประเทศไทย รหัสวิชา2101-2001ชื่อวิชา งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน หน่วยกิต1-6-3 ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2557ผู้รับผิดชอบ นายศึกษา ชอบสอน
เป็นการหาสัดส่วนความสำคัญของ เนื้อหาวิชา ในแต่ละพฤติกรรม ที่สัมพันธ์กับ จุดประสงค์รายวิชาตามหลักสูตร นอกจากนี้ยัง ใช้กำหนดคาบสอนของแต่ละเนื้อหาวิชา และ การวัดและประเมินผลการศึกษา โดยมีขั้นตอน ดังนี้ การวิเคราะห์หลักสูตร
การสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตรการสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร 1. วิเคราะห์วัตถุประสงค์และเนื้อหาวิชาใน หลักสูตร โดยพิจารณาพฤติกรรมและเนื้อหา ให้เป็นที่เข้าใจ 2. กรอกรายการเนื้อหาวิชาที่จัดเป็นหัวข้อใหญ่ๆ ลงตารางวิเคราะห์หลักสูตรเป็นหน่วยการเรียน
2201-2406 การใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล 2 (4) ( Data Presentation Program Usage ) จุดประสงค์รายวิชา 1. เข้าใจบทบาทและความสำคัญของการนำเสนอข้อมูล 2. รู้หลักการ วิธีการนำเสนอผลงานโดยใช้โปรแกรมการ นำเสนอ 3. มีทักษะการใช้โปรแกรมการนำเสนอ 4. มีกิจนิสัยและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดี ใน การใช้คอมพิวเตอร์
มาตรฐานรายวิชา 1. อธิบายความหมายและความสำคัญของการนำเสนอข้อมูลในงานธุรกิจ 2. อธิบายความหมาย หน้าที่ และส่วนประกอบของโปรแกรมนำเสนอ ข้อมูล 3. ประยุกต์ใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูลในการนำเสนอข้อมูลทางธุรกิจ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ความหมายและความสำคัญของการนำเสนอ ข้อมูลหลักการออกแบบงานที่จะนำเสนอ การใช้โปรมแกรมการนำเนอข้อมูล พนมพร แฉล้มเขตต์
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรตารางวิเคราะห์หลักสูตร ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ การเลือกใช้โปรแกรม โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล การนำเสนอข้อมูล
3. กำหนดน้ำหนักคะแนนความสำคัญของแต่ละหน่วยการเรียน ในแต่ละพฤติกรรม ช่องละ 10 คะแนนโดยยึดเกณฑ์น้ำหนักคะแนน ดังนี้ สำคัญที่สุด 9 - 10 คะแนน สำคัญมาก 7 - 8 คะแนน ปานกลาง 4 - 6 คะแนน สำคัญน้อย 2 - 3 คะแนน น้อยมากหรือไม่สำคัญเลย 0 – 1 คะแนน พนมพร แฉล้มเขตต์
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรตารางวิเคราะห์หลักสูตร 24 28 31 39 38 5 4 3 1 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ การเลือกใช้โปรแกรม โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล การนำเสนอข้อมูล 6 5 5 - 8 7 8 8 5 - 9 8 8 6 - 8 9 9 8 5 5 7 9 9 8 35 37 39 28 21 160 3 2 1 4 5 25 ต.ค. 57 พนมพร แฉล้มเขตต์ 19
4. นำตารางมาหาผลรวมในแต่ละช่องทางด้าน ขวามือเพื่อให้ทราบลำดับความสำคัญของ เนื้อหา 5. รวมน้ำหนักลงด้านล่าง(พฤติกรรม)จัดลำดับ ความสำคัญของพฤติกรรมที่ต้องการปลูกฝัง 6. ปรับตารางเฉลี่ยให้เป็น 100 หน่วย พนมพร แฉล้มเขตต์
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรตารางวิเคราะห์หลักสูตร 24 28 31 39 38 5 4 3 1 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ การเลือกใช้โปรแกรม โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล การนำเสนอข้อมูล 6 5 5 - 8 7 8 8 5 - 9 8 8 6 - 8 9 9 8 5 5 7 9 9 8 35 37 39 28 21 160 3 2 1 4 5 25 ต.ค. 57 พนมพร แฉล้มเขตต์ 21
การแปลงค่าคะแนน 15 24 28 31 39 38 160 • 24 • 24 ×100 • 160 • = 15 18 19 25 23 100
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรตารางวิเคราะห์หลักสูตร 5 4 3 1 2 24 28 31 39 38 160 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ การเลือกใช้โปรแกรม โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล การนำเสนอข้อมูล 24 28 31 39 38 15 18 19 25 23 6 5 5 - 8 7 8 8 5 - 9 8 8 6 - 8 9 9 8 5 5 7 9 9 8 35 37 39 28 21 160 100 3 2 1 4 5 25 ต.ค. 57 พนมพร แฉล้มเขตต์ 23
การแปลงค่าคะแนน 6 5 5 - - - - 8 24 4 3 3 - - - - 5 15 24 15 6 6 ×15 24 = 3.75 4
5 5 5 3 6 5 5 3 5 6 6 5 3 3 4 5 6 5 ตารางวิเคราะห์หลักสูตร 5 4 3 1 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ การเลือกใช้โปรแกรม โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล การนำเสนอข้อมูล 15 18 19 25 23 6 5 5 - 8 4 3 3 5 7 8 8 5 - 9 8 8 6 - 8 9 9 8 5 5 7 9 9 8 35 37 39 28 21 100 2323241713 3 2 1 4 5 25 ต.ค. 57 พนมพร แฉล้มเขตต์ 25
จากคำอธิบายรายวิชางานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน สิ่งที่ต้องประเมินมี ดังนี้ • ความรู้หลักการทำงาน ตรวจสอบบำรุงรักษาปรับแต่ง • เครื่องยนต์แก๊สโซลีน • ถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีน • ตรวจสภาพและบำรุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีน • ปรับแต่งเครื่องยนต์แก๊สโซลีน • เจตคติที่ประกอบด้วยกิจนิสัยและคุณธรรมจริยธรรม
กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมกาเรียนการสอนควรจัดทั้งทฤษฎีและปฏิบัติไปพร้อมกันโดยผู้สอนอาจใช้วิธีให้ความรู้ด้วยทฤษฎีหัวงานและให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติที่ละขั้นตอนตามใบช่วยสอนที่กำหนดเมื่อผู้เรียนปฏิบัติครบตามขั้นตอนทุกขั้นตอนแล้วผู้สอนจึงสรุปและเพิ่มความรู้เรื่องทฤษฎีให้ครบทุกรายละเอียด หรือดำเนินการสอนทฤษฎีก่อนทีละเรื่องเมื่อจบทฤษฎีแล้วให้ลงมือปฏิบัติสลับกันไปจนครบตามหลักสูตร
กำหนดชนิดของเครื่องมือในการประเมินกำหนดชนิดของเครื่องมือในการประเมิน - การสอนทฤษฎีต้องใช้การทดสอบความรู้ - การปฏิบัติงานต้องใช้การทดสอบความสามารถในการปฏิบัติงานซึ่งต้องประกอบไปด้วย กระบวนการที่ได้มาของงาน กิจนิสัยและความใส่ใจในการทำงาน ผลงานที่ได้จากการปฏิบัติงาน ใช้การประเมินความสามารถ
การเลือกเครื่องมือในการประเมินการเลือกเครื่องมือในการประเมิน พิจารณาตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของแต่ละหน่วยการเรียน หรือตามสมรรถนะรายวิชาเครื่องมือที่ใช้ประเมินจะขึ้นอยู่กับกิจกรรมการเรียนรู้ของแต่ละหน่วย และแต่ละสมรรถนะนั้นๆ
กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนของเครื่องมือกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนของเครื่องมือ เกณฑ์การให้คะแนน(Scoring Rubric) ของเครื่องมือประเมินแต่ละชนิดต้องมีการกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ที่ชัดเจน การกำหนดคะแนนขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องมือและองค์ประกอบของเนื้อหาในส่วนที่เป็นความสำคัญของรายวิชานั้น ๆ
คู่มือหรือคำชี้แจงการให้คะแนนและเกณฑ์การตัดสินคู่มือหรือคำชี้แจงการให้คะแนนและเกณฑ์การตัดสิน 1. สิ่งที่ต้องการประเมิน แยกเป็น ภาคทฤษฎี และ ภาคปฏิบัติ 2. ลักษณะของเครื่องมือประเมิน 3. คะแนนเต็มในแต่ละหัวข้อ 4. วิธีการประเมิน 5. เกณฑ์การผ่านของเครื่องมือแต่ละชุด
กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนของเครื่องมือกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนของเครื่องมือ เครื่องมือเป็นแบบทดสอบถ้าเป็นแบบเลือกตอบ(ปรนัย)ส่วนใหญ่ให้ข้อละ 1 คะแนน เครื่องมือเป็นแบบทดสอบแบบความเรียง(อัตนัย)คะแนนที่ให้จะขึ้นอยู่กับปริมาณของคำตอบ
กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนของเครื่องมือกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนของเครื่องมือ เครื่องมือเป็นแบบประเมิน กรณีที่ใช้ประเมิน การปฏิบัติงาน และชิ้นงาน จำนวนคะแนนขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของหัวข้อในแต่ละข้อของการประเมิน กรณีที่ใช้ประเมินความรู้สึกในการแสดงความคิดเห็น การให้คะแนนจะไม่กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน จะใช้ค่าตัวเลขแทนความรู้สึก
12 รายวิชางานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน จะทำการประเมินเป็นองค์รวมตามสมรรถนะงานของสมรถนะรายวิชาที่กำหนดโดยประเมิน • ความรู้ในเรื่อง หลักการตรวจสอบบำรุงรักษาปรับแต่งชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีนประเมินด้วยแบบทดสอบ • ทักษะ เจตคติและกิจนิสัย ในระหว่างปฏิบัติงาน และ เสร็จสิ้นการปฏิบัติงานในการถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีนประเมินด้วยแบบประเมิน
ทักษะ เจตคติและกิจนิสัย ในระหว่างปฏิบัติงาน และ เสร็จสิ้นการปฏิบัติงานในการตรวจสภาพและบำรุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีนประเมินด้วยแบบประเมิน • ทักษะ เจตคติและกิจนิสัย ในระหว่างปฏิบัติงาน และเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานในการปรับแต่งเครื่องยนต์แก๊สโซลีนประเมินด้วยแบบประเมิน
กำหนดเกณฑ์การประเมิน การประเมินตามมาตรฐานรายวิชา รายวิชาที่เน้นทฤษฎี คะแนนที่ให้จะเน้นไปที่เนื้อหาวิชา เกณฑ์ผ่านการประเมินจะไม่สูงมาก ส่วนใหญ่คะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50หรือ60 ของคะแนนรวมทั้งหมด รายวิชาที่เน้นปฏิบัติ เกณฑ์ผ่านการประเมินจะสูงกว่าทฤษฎี เกณฑ์จะไม่น้อยกว่าร้อยละ 70หรือ80 ของคะแนนทั้งหมด ผู้เรียนต้องมีความรู้และปฏิบัติได้ไม่ต่ำกว่าที่มาตรฐานกำหนด
การประเมินตามสมรรถนะรายวิชาการประเมินตามสมรรถนะรายวิชา ผู้เรียนต้องมีความรู้และปฏิบัติได้ตามสมรรถนะงานที่รายวิชากำหนดทั้งหมดจนครบทุกสมรรถนะจึงถือว่าผ่านการประเมินในรายวิชานั้น
ทฤษฎี ปฏิบัติ จิตพิสัย แบบทดสอบ แบบประเมิน แบบประเมิน แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบมาตรประมาณค่า แบบตรวจสอบรายการ ประเภทเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน