250 likes | 315 Views
506/1 AIDSSEN. เอดส์แม่และเด็ก. กามโรค. ถุงยาง 100%. อนุเอดส์. ผลการปฏิรูประบบราชการต่องานเอดส์. ก่อน ต.ค.45 ทำงาน 7-8 คน. หน.ฝ่ายเอดส์และกามโรค. ผู้ประสานงาน. ผลการปฏิรูประบบราชการต่องานเอดส์. หลังจากนั้น 1-2 คน. ผู้บริหาร. ARV เอดส์แม่และเด็ก ป้องกันการติดเชื้อ
E N D
506/1 AIDSSEN เอดส์แม่และเด็ก กามโรค ถุงยาง100% อนุเอดส์ ผลการปฏิรูประบบราชการต่องานเอดส์ ก่อน ต.ค.45 ทำงาน 7-8 คน หน.ฝ่ายเอดส์และกามโรค
ผู้ประสานงาน ผลการปฏิรูประบบราชการต่องานเอดส์ หลังจากนั้น 1-2 คน ผู้บริหาร • ARV • เอดส์แม่และเด็ก • ป้องกันการติดเชื้อ • ระบาดเอดส์ • BSS • AIDSSEN • AIDSOI • PHOMS • อนุเอดส์
การมีส่วนร่วม กำหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ • เครือข่าย ต้องเข้มแข็ง • ภาครัฐ • เอกชน • ประชาชน • การประสานงาน • นิเทศติดตาม ควบคุมกำกับ กลยุทธ์การดำเนินงาน
นโยบาย ผู้บริหารทุกระดับ จังหวัด ,โรงพยาบาล,องค์กรเอกชน MCH Board ของจังหวัด เวทีตรวจราชการ สรุปผลการดำเนินงานแจ้งผู้บริหารทุกระดับ • บุคลากร ทุกฝ่ายได้รับการเตรียม เข้าใจ มีเป้าหมายงานร่วมกัน วางแผนและดำเนินการพัฒนาทีมงานอย่างต่อเนื่อง เช่น ฝึกอบรมพยาบาลวิชาชีพ, พัฒนาเครือข่ายทีมดูแลรักษาฯ จัดทำแนวทางการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ/ป่วยเอดส์ระดับรพช./รพท. เป้าหมาย Workshop แนวทาง
การประสานงาน รับฟัง ทีมมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาทุกระดับ • พัฒนาฟอร์มเก็บข้อมูล การส่งรายงาน • ประสานข้อมูลการดำเนินงานระหว่างโรงพยาบาล เช่น การส่งต่อผู้ป่วยรับการรักษาต่อเนื่อง • นิเทศติดตาม ควบคุมกำกับ ตรวจสอบข้อมูลรายงาน การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี แบบรายงาน
ประเมินคุณภาพการให้บริการผู้ติดเชื้อโดย HIVQUAL_T • สนับสนุนการจัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในระดับโรงพยาบาล และนำเสนอผลการดำเนินงานระดับจังหวัด • จัดหางบประมาณสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพงานและนิเทศติดตามอย่างต่อเนื่อง
เป้าหมายงานเอดส์ • ลดผู้ติดเชื้อรายใหม่ (แม่สู่ลูก เพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้องกัน ฯลฯ) • พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ติดเชื้อ(เด็ก,วัยรุ่น,ผู้ใหญ่) (ผู้ติดเชื้อมีข้อมูลมากพอ,เข้าถึงบริการ,มีทางเลือกในการรักษา, แพทย์ทางเลือก,ติดตามดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องตามมาตรฐาน, ส่งเสริมคุณภาพการกินยา, มีอาชีพ, เด็กได้รับการพัฒนาตามวัย,นมผงที่ยาวขึ้น ) กลับ
นำเสนอผลการดำเนินงานในเวทีประชุมเครือข่ายเอดส์ (GO+NGO+PWA)ทุก 4 เดือน • พัฒนาบุคลากรด้านวิชาการ อย่างต่อเนื่อง ในจังหวัด และส่วนกลาง กลับ
จากประสบการณ์การให้บริการในเรื่องเอดส์ในอีก ๓ ปีข้างหน้า...เราอาจจะพบสถานการณ์.... • ผู้ให้บริการ จะให้บริการไม่พอเพียง เปลี่ยนผู้ให้บริการ • ระบบสนับสนุน หน่วยงานอื่นทำงานมากขึ้น(แต่สื่อสาร...?) อุปกรณ์ไม่พอเช่น คอมพ์ คนต้องไปทำงานข้อมูลมาก ขาดอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ • ผู้รับบริการ จะมีผู้รับบริการรายใหม่เพิ่ม มีเพศสัมพันธ์ไม่ได้ป้องกัน ผู้ติดเชื้อตั้งครรภ์มากขึ้น มีการดื้อยามากขึ้น จะมีความเปลี่ยนแปลงมากขึ้นอันเนื่องจากARV ไม่ได้เสียชีวิตจากOIs อายุยืนยาวขึ้นผู้ติดเชื้อเริ่มเข้าสู่วัยสูงอายุ เด็กเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น อาจมีเซ็กส์ นักเรียนตั้งครรภ์มากขึ้น ผู้ป่วยที่ไม่มีสิทธิ์มากขึ้น แรงงานต่างชาติติดเชื้อมากขึ้น • ผู้ให้บริการ จะให้บริการไม่พอเพียง เปลี่ยนผู้ให้บริการ • ระบบสนับสนุน หน่วยงานอื่นทำงานมากขึ้น(แต่สื่อสาร...?) อุปกรณ์ไม่พอเช่น คอมพ์ คนต้องไปทำงานข้อมูลมาก ขาดอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ • ผู้รับบริการ จะมีผู้รับบริการรายใหม่เพิ่ม มีเพศสัมพันธ์ไม่ได้ป้องกัน ผู้ติดเชื้อตั้งครรภ์มากขึ้น มีการดื้อยามากขึ้น จะมีความเปลี่ยนแปลงมากขึ้นอันเนื่องจากARV ไม่ได้เสียชีวิตจากOIs อายุยืนยาวขึ้นผู้ติดเชื้อเริ่มเข้าสู่วัยสูงอายุ เด็กเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น อาจมีเซ็กส์ นักเรียนตั้งครรภ์มากขึ้น ผู้ป่วยที่ไม่มีสิทธิ์มากขึ้น แรงงานต่างชาติติดเชื้อมากขึ้น
กรณีรู้ผลติดเชื้อ HIV บริการที่รพ.จัดให้
ตัวชี้วัดHIVQUAL-T Indicators (version 4) • การติดตามผลการตรวจ CD4 (Monitoring HIV status) • Viral Load ในรายที่รับยา ARV • การป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาส (PCP, Cryptococcosis) • Pen., MAC • การรักษาด้วยยาต้านไวรัส (Antiretroviral therapy) • Service adherence (มาตรวจและรับยาตามนัด) • Drug adherence (กินยาตามกำหนด) • การคัดกรองและการรักษาวัณโรค (Tuberculosis) • ผู้ป่วย TB/HIV ได้รับการดูแล • ผู้ป่วย HIV ได้รับการคัดกรองหาการติดเชื้อ TB • การป้องกันการแพร่เชื้อ (Prevention with positive) • การตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (Syphilis, CT, NG, ulcer) • การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ (Pap smear screening)
ความสำเร็จ ของการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ/ป่วยเอดส์รู้ได้โดย.......
ระบบการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ด้วย HIVQUAL-T Model 4.3 Infrastructure สำนักโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ศูนย์ความร่วมมือไทย – สหรัฐด้านสาธารณสุข สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Group Learning
ก้าวย่างของการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์จังหวัดเพชรบุรีก้าวย่างของการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์จังหวัดเพชรบุรี
ACCESS TO CARE ในเพชรบุรี • 2543msf-Belgium&ACCESS ติดต่อสสจ. ชวนรพ.ชุมชนให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัส ชวนคนทำงาน • ร่วมกำหนดเป้าหมายและวางแผนกิจกรรม เช่น ปรับทัศนคติให้บุคลากรทั้งรพ. อบรมCsg เยี่ยมบ้าน • ทำกิจกรรมด้วยกัน ลองผิดลองถูก ปรับแก้ด้วยกัน
ACCESS TO CARE ในเพชรบุรี • ต.ค. 2545 สธ. โครงการ ATC รพ.สมัครเข้าประชุม 5 ด้าน 4 แห่ง กลับไปทำงาน 2 แห่ง • ม.ค. 2546 หารือกับ msf-Belgium เพื่อร่วมกำหนดทิศทางการทำงานATC โดยโอน case ที่ msf-Belgium สนับสนุนARVรพ.บ้านแหลม เข้า ATC • มาสนับสนุน 2nd Line Drug (สธ.ยังไม่มีให้) • ยารักษา OIs ที่มีราคาแพงเช่น Gancyclovir(ชวนจักษุแพทย์ร่วมงาน) สนับสนุน Clarithromycin กรณีผู้ป่วยที่สงสัย MAC เป็นต้น
ACCESS TO CARE ในเพชรบุรี • สสจ.และ msf-Belgium ร่วมกันสัญจรรพ.ที่ยังไม่ให้การรักษาด้วย ARVรับฟังปัญหาและร่วมวางแผนแก้ไข สร้างความมั่นใจให้กับคนทำงาน • ผลตอบรับดีมากมีนาคม 2546 รพ.ทุกแห่งให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ • เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับจังหวัด ทุก 3 เดือน • การส่งตรวจ CD4 ที่รพ.ราชบุรี สสจ.ชวนลดต้นทุนด้วย CAR Pool ทำแผนหมุนเวียนเจ้าภาพ เป็นหน่วยกลางรับเลือดเพื่อส่งตรวจตามวันนัด
msf-Belgium ชวนรพ.พระจอมเกล้าเริ่ม ARV ในเด็ก • 2547 เริ่มส่อเค้าขาดแพทย์ในรพ.ชุมชน พูดคุยกันเพื่อสร้างระบบเชื่อมต่องานในรพ.ชุมชน Empower พยาบาลที่ดูแลด้วยรูปแบบจัด Workshop,coaching ใน ARV clinic แนวทางการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ จังหวัดเพชรบุรีช่วยลดปัญหา การรักษา OIs /ส่งต่อ เช่น CryptoCMV MAC
2548 สสจ.และmsf ร่วมพัฒนาเครือข่าย ประชุมทีม MCH แก้ปัญหา NVP Resistance ในแม่โดยสสจ.ประสานสคร.4 สนับสนุน AZT+3TC 7 days จาก VMI (ขณะที่ National Guide line ยังไม่อนุมัติ) สนับสนุนการประชุมเครือข่ายผู้ติดเชื้อระดับจังหวัดทุกเดือนโดยสัญจรหมุนเวียนไปทุกกลุ่ม PWA ได้รับการพัฒนาวิชาการต่อเนื่องจาก msf จัดตั้งเป็นศูนย์องค์รวม ทำงานร่วมกับทีม 5 ด้านโดยเฉพาะการค้นหาผู้ติดเชื้อ เตรียมเพื่อนเข้าสู่ระบบการดูแลรักษา เยี่ยมบ้านเพื่อน
2549 สสจ.และmsf ร่วมพัฒนาเครือข่าย ARVcoaching โรงพยาบาลทุกแห่ง(สสจ.+msf+PWA) ประสานและสนับสนุนการทำงานในโรงพยาบาลเอกชน workshop ประเด็นการดูแลเด็กครบวงจรกับรพ.ชุมชน 7 แห่ง (มีรพ.ชุมชน 2 แห่งร่วมดูแลเด็ก โดยรพ.พจก.ส่งทีมสหสาขาลง Coach)
2549 สสจ.และmsf ร่วมพัฒนาระบบ บริหาร 2nd Line Drug คัดกรองผู้ป่วยที่พบคุณสมบัติสงสัยดื้อยาเพื่อส่งตรวจ VL Drug Resistance (ยังเป็นแบบโควต้าอยู่แต่จังหวัดต้องการเน้นกลุ่มที่มีความจำเป็นก่อน) ร่วมเป็น Advisory Board 2nd Line Drug ของเขต
2550 msf จบโครงการ NHSO มารับผิดชอบ CARE PROGRAM เน้นVCT Adherence พัฒนาคุณภาพระบบบริการ HIVQUAL_T ทุกรพ.เข้าร่วม
2551 เน้นบูรณาการงานป้องกันและแก้ไข เน้นการใช้ประโยชน์จากข้อมูล รพ.ชุมชนเขาย้อยร่วมดูแลเด็กครบวงจร