1 / 121

แสง

แสง.

lynne
Download Presentation

แสง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แสง

  2. 1. ลิง (ปังคุง) อยู่หน้ากระจกเว้าบานหนึ่งเป็นระยะ 15 เซนติเมตร กระจกเว้ามีรัศมีความโค้ง 40 เซนติเมตร ภาพลิงมีลักษณะอย่างไรก. ภาพจริง หัวกลับขนาดเล็กและอยู่หน้ากระจก ระหว่างจุดโฟกัสกับจุดศูนย์กลางความโค้งของกระจกข. ภาพเสมือน หัวตั้งขนาดขยายใหญ่ที่สุด อยู่หลังกระจกที่ระยะอนันต์ค. ภาพเสมือน หัวตั้งขนาดใหญ่กว่าตัวลิง อยู่หลังกระจกน้อยกว่ารัศมีความโค้งของกระจกง. ผิดทุกข้อ

  3. เฉลย แนวคิด เพราะฉะนั้น วัตถุอยู่ระหว่าง F กับ C จะให้ภาพเสมือนขนาดขยาย

  4. 2. กระจกนูนรัศมีความโค้ง 60 cm จงหาระยะวัตถุที่พอดี ทำให้เกิดภาพห่างจากกระจก 2 ใน 3 ของความยาวโฟกัส

  5. เฉลย แนวคิด..

  6. 3. เมื่อวางวัตถุอยู่หน้ากระจกเว้าบานหนึ่ง เป็นระยะ x และ y ตามลำดับ โดยที่ x<y ได้ภาพที่มีขนาดเท่ากัน ความยาวโฟกัสของกระจกเว้าจะตรงกับข้อใด ก. 1 ถูกข้อเดียว ข. 1 และ 2 ถูก ค. 1 และ 3 ถูก ง. 2 และ 3 ถูก จ.ถูกหมดทุกข้อ

  7. เฉลย ข้อ จ. มากกว่า x แต่น้อยกว่า y • แนวคิด • ถ้า x น้อยกว่าความยาวโฟกัส เกิดภาพเสมือนขนาดใหญ่ • ถ้า y มากกว่าความยาวโฟกัส (ระหว่าง F กับ 2F) เกิดภาพจริง ขนาดใหญ่ • จึงมีโอกาสที่ได้ภาพขนาดเท่ากัน....

  8. 4. ถ้าให้รังสีของแสงตกกระทบผิวสะท้อนแสง 3 ชนิด คือผิวราบ ผิวโค้งนูน และผิวโค้งเว้า จากข้อความต่อไปนี้ จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด • มุมสะท้อนเท่ากับมุมตกกระทบสำหรับผิวราบ • มุมสะท้อนโตกว่ามุมตกกระทบสำหรับผิวโค้งนูน • มุมสะท้อนเล็กกว่ามุมตกกระทบสำหรับผิวโค้งเว้า จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด • 1 ถูกข้อเดียว ข. 1 และ 2 ถูกค. 1 และ 3 ถูก ง. 2 และ 3 ถูก จ. ถูกหมดทุกข้อ

  9. เฉลย ข้อ ก • แนวคิด ไม่ว่าจะเป็นกระจกเงาราบ หรือโค้ง จะได้ว่า มุมตกกระทบ = มุมสะท้อนเสมอ

  10. 5. วางวัตถุไว้หน้ากระจกเงาราบ 10 เซนติเมตร ถ้าเลื่อนวัตถุเข้าไปหากระจกอีก 5 เซนติเมตร จะเกิดภาพอย่างไร • เป็นภาพจริงหลังกระจกในตำแหน่งเดิม • เป็นภาพจริงอยู่หลังกระจกระยะ 5 เซนติเมตร • เป็นภาพเสมือนอยู่หลังกระจกระยะ 5 เซนติเมตร • เป็นภาพจริงอยู่หลังกระจกระยะ 15 เซนติเมตร • เป็นภาพเสมือนอยู่หลังกระจกระยะ 15 เซนติเมตร

  11. เฉลย ข้อ ค • แนวคิด กระจกเงาราบระยะ S = S’ • และเป็นภาพเสมือน

  12. 6. ถ้าต้องการภาพที่เกิดจากกระจกเงาโค้ง เป็นภาพเสมือนขยายมาก ๆ ควรใช้กระจกชนิดใด อย่างไร โดยวางวัตถุห่างจากโฟกัสเป็นระยะคงที่ค่าหนึ่ง • ใช้กระจกนูนที่มีความยาวโฟกัสยาวมาก ๆ • ใช้กระจกเว้าที่มีความยาวโฟกัสยาวมาก ๆ • ใช้กระจกนูนที่มีความยาวโฟกัสสั้นมาก ๆ • ใช้กระจกเว้าที่มีความยาวโฟกัสสั้นมาก ๆ

  13. เฉลย ข้อ ข • แนวคิด โจทย์กำหนด (f-S) คงที่ , M = f S-f จากสมการนี้ m แปรผันตาม f เพราะโจทย์กำหนดตัวหารคงที่

  14. 7. กระจกนูน จะให้ภาพที่มีลักษณะอย่างไร • ภาพจริงขนาดเล็กกว่าวัตถุ • ภาพจริงขนาดใหญ่กว่าวัตถุ • ภาพเสมือนขนาดเล็กกว่าวัตถุ • ภาพเสมือนขนาดใหญ่กว่าวัตถุ • ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน

  15. เฉลย ข้อ ค • แนวคิด กระจกนูน เช่น กระจกส่องดูในรถยนต์ ให้ภาพเสมือน, หัวตั้ง, ขนาดย่อ เท่านั้น

  16. 8. ถ้าต้องการให้เกิดภาพหัวตั้งโดยใช้กระจกเว้า จะต้องให้ระยะวัตถุเปนเท่าใด • น้อยกว่าความยาวโฟกัส • เท่ากับความยาวโฟกัส • อยู่ระหว่างจุดโฟกัส กับจุดซึ่งมีระยะเป็นสองเท่าความยาวโฟกัส • มากว่าสองเท่าของความยาวโฟกัส

  17. เฉลย ข้อ ก น้อยกว่าความยาวโฟกัส

  18. 9. กระจกเว้าทรงกลมอันหนึ่งมีความยาวโฟกัส f, ถ้าต้องการให้เกิดภาพของวัตถุอันหนึ่งที่ตำแหน่งเดียวกันกับวัตถุ ระยะวัตถุจะมีค่าเท่าใด • f 2 ข. f ค. 3f 2 ง. 2f

  19. เฉลย ข้อ ง. 2f • แนวคิด กระจกเว้า เมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะ 2f คือจุด C ย่อมเกิดภาพที่จุด C ด้วย (เป็นภาพจริง, หัวกลับ, ขนาดเท่าวัตถุ)

  20. 10. ถ้าใช้กระจกเว้ารัศมีความโค้ง 50 cm รับแสงจากดวงอาทิตย์ จะเกิดภาพห่างจากกระจกเท่าใด • 100cm • 50 cm • 25 cm • 15 cm

  21. เฉลยข้อ ค. • แนวคิด แสงอาทิตย์ เป็นแสงขนาด จะรวมแสงไปตกที่จุดโฟกัส = R/2 = 50/2 = 25 cm

  22. 11. เมื่อเอาวัตถุมาวางไว้หน้ากระจกโค้งอันหนึ่งที่ระยะห่าง 10 เซนติเมตร พบว่าจะเกิดภาพซึ่งเอาฉากรับได้ที่ระยะ 10 เซนติเมตร ข้อความใดต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อที่สุด • กระจกเป็นกระจกนูนมีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร • กระจกเป็นกระจกเว้ามีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร • กระจกเป็นกระจกนูนมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร • กระจกเป็นกระจกเว้ามีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร

  23. เฉลย ข้อง • แนวคิด เกิดภาพจริงที่เดียวกับวัตถุ ย่อมเป็นจุด c เพราะฉะนั้น R =10 ซม. f กระจกเว้า = R/2 = 5 ซม.

  24. 12. ถ้าอยากเป็นหน้าของท่านห่างจากกระจก 12 ซม. ขยายขึ้นเป็น 2 เท่า จะต้องใช้กระจกชนิดใด และความยาวโฟกัสเท่าใด • กระจกนูน ความยาวโฟกัส 12 ซม. • กระจกเว้า ความยาวโฟกัส 12 ซม. • กระจกนูน ความยาวโฟกัส 6 ซม. • กระจกเว้า ความยาวโฟกัส 6 ซม. • กระจกนูน ความยาวโฟกัส 24 ซม.

  25. เฉลย ข้อ ข. • แนวคิด จะเกิดภาพขนาดขยายได้ต้องเป็นกระจกเว้า s’ = -12 ซม. m = s’/s = 12/s s = 6 ซม. 1/f = 1/6-1/12 f = 12 ซม.

  26. 13. กระจกเว้ามีรัศมีความโค้ง 10 เซนติเมตร จะต้องวางวัตถุห่างกระจกกี่เซนติเมตรจึงจะทำให้ภาพของวัตถุมีกำลังขยายเป็น 2 เท่า และหัวตั้ง • 2 ซม • 3 ซม • 2.5 ซม • 3.5 ซม

  27. เฉลย ข้อ ค. • แนวคิด หัวตั้งย่อมเป็นภาพเสมือน m = -2

  28. 14. กระจกบานหนึ่งแขวนไว้ที่ผนังห้อง เมื่อวัตถุชิ้นหนึ่งสูง 6 ซม. อยู่ห่างจากกระจก 24 ซม. ทำให้เกิดภาพของเขาหลังกระจกสูง 0.5 ซม. จงหาระยะภาพที่อยู่หลังกระจก ชนิดและความยาวโฟกัสของกระจกนั้น • 2 ซม. • 2.15 ซม • 2.18 ซม • -2.18 ซม

  29. เฉลย ข้อ ง • แนวคิด

  30. 15. กระจกนูนให้ภาพเสมือนที่มีขนาดเล็กกว่าวัตถุเป็น ½ เท่า ถ้ากระจกนี้มีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร จงหา ระยะที่วางวัตถุอยู่ห่างจากกระจกกี่เซนติเมตร • 10 ซม. • 13 ซม. • 14 ซม. • 20 ซม.

  31. เฉลย ข้อ ก. • แนวคิด กระจกนูน ให้ภาพเสมือน เพราะฉะนั้น m = f/(s-f) -1/2 = -10/s-(-1) s = 10 ซม.

  32. 16. วางวัตถุไว้หน้ากระจกนูนที่ระยะ 20 เซนติเมตรเมื่อเลื่อนวัตถุเข้าหากระจกอีก 15 เซนติเมตร ทำให้ภาพมีกำลังขยายเป็น 2 เท่า ของกำลังขยายเดิม โฟกัสของกระจกนูนนี้เป็นเท่าไร • 10 ซม • -10 ซม • 12 ซม • -12 ซม

  33. เฉลย ข้อ ข • แนวคิด m = f/(S-f) -m = f/20-f -2m = f/5-f 2 = (20-f)/(5-f) f = -10 ซม.

  34. 17. จะต้องใช้กระจกชนิดใด และมีความยาวโฟกัสเท่าไรจึงจะทำให้เกิดภาพเสมือนที่มีขนาดเป็น 1.5 เท่าของวัตถุ เมื่อวางวัตถุนี้ไว้ห่างจากกระจกและอยู่หน้ากระจก 15 ซม. • 50 ซม • 35 ซม • 45 ซม • 60 ซม

  35. เฉลย ข้อ ค • แนวคิดภาพเสมือน ขนาดขยาย ย่อมเป็นกระจกเว้า m = f/(S-f) -1.5 = f/(15-f) f = 45 ซม.

  36. 18. วางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้งความยาวโฟกัส 15 เซนติเมตร เกิดภาพบนฉากขนาดใหญ่โตเป็น 3 เท่าของวัตถุ อยากทราบว่า เป็นกระจกชนิดใดและวางวัตถุห่างจากฉากเท่าไร • 10 ซม • 15 ซม • 20 ซม • 25 ซม

  37. เฉลย ข้อ ค 20 ซม. • แนวคิด เกิดภาพ เอาฉากรับได้ แสดงว่า เป็นจริงซึ่งเกิดจากกระจกเว้า m = f/(S-f) 3 = 15/(S-15) S = 20 ซม.

  38. 19. กระจกเว้ามีระยะโฟกัส 20 ซม. เมื่อนำเอาวัตถุมาวางห่างหน้ากระจก 15 ซม. จะได้ภาพอย่างไร • ภาพจริง หัวตั้ง • ภาพจริง หัวกลับ • ภาพเสมือน หัวตั้ง • ภาพเสมือน หัวกลับ

  39. เฉลย ข้อ ค. ภาพเสมือน หัวตั้ง • แนวคิด 1/f = 1/s + 1/s’ 1/20 = 1/15 + 1/s’ จะได้ s’ = -60 ซม. วัตถุอยู่ในระยะโฟกัสย่อมได้ภาพเสมือน หัวตั้ง

  40. 20. จงหารัศมีความโค้งของกระจกนูนซึ่งทำให้เกิดภาพที่มีขนาดเป็น 1/5 ของวัตถุ เมื่อวัตถุอยู่ห่างจากกระจก 15 ซม. • 5.5 ซม • 5.5 ซม • 6.0 ซม • 7.5 ซม

  41. เฉลย ข้อ ง • แนวคิด m = f/(s-f) -1/5 = f/(15-f) -15+f = 5f f = -3.75 ซม. เพราะฉะนั้น R = 2f = 2 x 3.75 = 7.5 ซม.

  42. 21. วางวัตถุไปหน้ากระจกโค้ง พบว่าเกิดภาพสูง 10 เซนติเมตร ที่เดียวกับวัตถุเมื่อเลื่อนกระจกออกไปจากวัตถุอีก 10 เซนติเมตร จะเกิดภาพห่างกระจก 24 เซนติเมตร จงหาความยาวโฟกัสของกระจก • 10 ซม. • 11 ซม. • 12 ซม. • 15 ซม.

  43. เฉลย ข้อ ง. 15 ซม. • แนวคิด เกิดภาพที่เดียวกับวัตถุ ย่อมเป็นจุด C ซึ่งหากกระจก 2f ต้องเป็นกระจกเว้าจึงจะเกิดภาพที่เดียวกับวัตถุ เมื่อเลื่อนออกไปย่อยได้ภาพจริง 1/f = 1/s + 1/s’ 1/f = 1/(2f+10) +1/24 f = 15 ซม.

  44. กระจกโค้งบานหนึ่งมีก้านไม้ขีดตั้งไว้ทางด้านเว้าของกระจก ภาพของไม้ขีดจะเป็นภาพกลับหัวห่างจากกระจกโค้ง 120 ซม. จากนั้นกลับเอากระจกหมุนเข้าหาไม้ขีด โดยตำแหน่งของกระจกและไม้ขีดอยู่ที่เดิม ภาพของไม้ขีดจะเป็นภาพเสมือนห่างจากกระจก 17.14 ซม. อยากทราบว่ากระจกมีรัศมีความโค้งเท่าไร (ถ้ากระจกเว้าและนูนมีรัศมีความโค้งเท่ากัน) • 30 ซม • 40 ซม • 50 ซม • 60 ซม

  45. เฉลย ข้อ ง 60 ซม. • แนวคิด 1/f = 1/s + 1/s 2/R = 1/s + 1/120......(1) 2/-R = 1/s + 1/-17.14......(2) (1)-(2); 2/R + 2/R = 1/120 + 1/17.14 R = 60 ซม.

  46. 23. เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งเป็นตัวกลางคนละชนิดกัน ปริมาณที่ไม่เปลี่ยนแปลง คือ • ทิศทางที่แสงเคลื่อนที่ • อัตราเร็วของแสง • ความยาวคลื่นแสง • ความถี่แสง

  47. เฉลย ข้อ ง • แนวคิด การเคลื่อนที่เปลี่ยนตัวกลางเป็นการหักเห การหักเหจะมีความถี่คงที่เสมอ

  48. 24. มุมวิกฤต คือ มุมใด • มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเหมีค่าน้อยกว่า 90 องศา • มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเหมีค่ามากกว่า 90 องศา • มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเหมีค่าเท่ากับ 90 องศา • มุมตกกระทบที่ทำให้แสงเกิดการสะท้อนกลับหมด

  49. เฉลยข้อค

  50. 25. สีใดหักเหมากที่สุด เมื่อสังเกตเห็นจากแถบสเปกตรัมของแสงอาทิตย์ • ม่วง • คราม • น้ำเงิน • แดง

More Related