100 likes | 283 Views
จัดทำโดย. นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส 47400907. Atmospheric Effects on Incoming Solar Radiation. By Mr.Amarin Wongphan. ปฏิกิริยาในชั้นบรรยากาศต่อรังสีอาทิตย์ที่เข้ามาสู่โลก.
E N D
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส 47400907
Atmospheric Effects on Incoming Solar Radiation By Mr.Amarin Wongphan
ปฏิกิริยาในชั้นบรรยากาศต่อรังสีอาทิตย์ที่เข้ามาสู่โลกปฏิกิริยาในชั้นบรรยากาศต่อรังสีอาทิตย์ที่เข้ามาสู่โลก ขบวนการในชั้นบรรยากาศที่ช่วยลดรังสีอาทิตย์ที่ทะลุผ่านชั้นบรรยากาศมาสู่ผิวโลก โดยชั้นบรรยากาศของโลก จะมีผลทำให้ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของคลื่นแสงในด้านทิศทาง ความเข้ม ตลอดจน ความยาว และ ความถี่ช่วงคลื่น เนื่องจากชั้นบรรยากาศ ประกอบไปด้วย ฝุ่น ละออง ไอน้ำ และก๊าซต่างๆ โดยมี 3 ขบวนการดังนี้ 1) การกระเจิงของแสง ( Scattering ) 2) การดูดกลืนของแสง ( Absorbtion) 3) การสะท้อนพลังงาน ( Reflection )
ปฏิกิริยาในชั้นบรรยากาศต่อรังสีอาทิตย์ที่เข้ามาสู่โลกปฏิกิริยาในชั้นบรรยากาศต่อรังสีอาทิตย์ที่เข้ามาสู่โลก
การกระเจิง ( Scattering) เกิดขึ้นในขณะที่รังสีอาทิตย์ส่องผ่านชั้นบรรยากาศโดยตกกระทบกับอนุภาคเล็กๆและโมเลกุลของก๊าซต่างๆที่แพร่กระจายในทุกทิศทาง โดยการกระทบไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความยาวคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งแยกไว้ 3 ประเภท คือ 1.1. Rayleigh Scatter 1.2. Mie Scatter 1.3. Nonselective Scatter
การการดูดกลืนของแสง(Absorbtion)การการดูดกลืนของแสง(Absorbtion) การดูดกลืน ทำให้เกิด การสูญเสียพลังงาน การดูดกลืนพลังงาน จะเกิดขึ้นที่ความยาวช่วงคลื่นบางช่วง โดยเฉพาะ ก๊าซ ที่มีความสามารถ ดูดกลืนเป็นพิเศษ คือ 2.1 ก๊าซออกซิเจนและโอโซน 2.2 ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 2.3 ไอน้ำส่วนใหญ่กระจายตัว อยู่ ในชั้น โทรโพสเฟียร์ (Troposphere)
การสะท้อนพลังงาน ( Reflection ) เป็นขบวนการที่เกิดเมื่อรังสีอาทิตย์ที่เข้ามาสู่โลกชนกับอนุภาคของโมเลกุลในชั้นบรรยากาศแล้วทำให้รังสีอาทิตย์มีทิศทาง 180 องศา กับทิศทางรังสีที่เข้ามาทำให้สูญเสียรังสีที่เข้ามา 100 % ออกสู่อวกาศ การสะท้อนทั้งหมดเกิดที่เมฆโดยอนุภาคต่างๆของๆเหลวและเกร็ดน้ำแข็งในเมฆ การสะท้อนเกิดประมาณ 40 – 90 %
รูปภาพดังต่อไปนี้สัดส่วนการสะท้อนของรังสีอาทิตย์ที่เข้ามา ปี1987 [1]
การสะท้อนพลังงาน ( Reflection )
Referent 1. www.deqp.go.th 2. www.physicalgeography.net