430 likes | 637 Views
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และผลกระทบต่อสินค้าเกษตรไทย. ประชาคมอาเซียนกับภาคเกษตร. ประชาคมอาเซียน ( ASEAN Community). ประชาคมการเมืองความมั่นคง (APSC). ประชาคมสังคมวัฒนธรรม ( ASCC ). ประชาคมเศรษฐกิจ ( AEC). การขจัดความยากจน. ตลาดและฐานการผลิตเดียว. ความมั่นคงด้านอาหาร.
E N D
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและผลกระทบต่อสินค้าเกษตรไทยประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและผลกระทบต่อสินค้าเกษตรไทย
ประชาคมอาเซียนกับภาคเกษตรประชาคมอาเซียนกับภาคเกษตร ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ประชาคมการเมืองความมั่นคง (APSC) ประชาคมสังคมวัฒนธรรม (ASCC) ประชาคมเศรษฐกิจ (AEC) การขจัดความยากจน ตลาดและฐานการผลิตเดียว ความมั่นคงด้านอาหาร ความร่วมมือด้านอาหาร เกษตร และป่าไม้ 2
ความสำคัญของอาเซียนต่อไทยความสำคัญของอาเซียนต่อไทย • เป็นกลไกสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ รักษาสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจของไทย • เป็นคู่ค้าสินค้าเกษตร (รวมยางพารา) อันดับหนึ่งของไทย มีมูลค่าการส่งออก 265,674 ล้านบาท หรือ 19 % ของมูลค่าส่งออกสินค้าเกษตรทั้งหมดของไทย (ปี พ.ศ. 2554) 3
ตลาดส่งออกสินค้าเกษตรสำคัญของไทย ปี 2554 หมายเหตุ: สินค้าเกษตรหมายถึง สินค้าในพิกัดศุลกากรตอนที่ 01-24 และยางพารา พิกัด 4001 ที่มา: กรมศุลกากร
จะเกิดอะไรขึ้นใน AEC 2558 สินค้า ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์/อุปสรรคนำเข้าลดลง บริการ ทำธุรกิจบริการระหว่างประเทศสมาชิกในอาเซียนได้เสรียิ่งขึ้น การลงทุน การลงทุนในอาเซียนมีอุปสรรคน้อยลง แรงงานฝีมือ การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเป็นไปอย่างเสรียิ่งขึ้น (เปิดแล้ว 7 สาขา) (ความตกลงอาเซียนไม่คลุมถึงแรงงานไม่มีฝีมือรวมถึงแรงงานเกษตร) เงินทุน การเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรียิ่งขึ้น ความร่วมมือ ความมั่นคงด้านอาหาร เกษตร ป่าไม้ และ ASEAN Connectivity ฯลฯ ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
AEC: การเป็นตลาดและฐานผลิตเดียวกัน • ปรับประสานระบบการกักกันและวิธีการตรวจสอบการสุ่มตัวอย่าง และจัดทำมาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับผลิตภัณฑ์เกษตร อาหาร และป่าไม้ ที่มีความสำคัญและมีศักยภาพทางการค้า ภายในปี 2553 • จัดตั้ง ASEAN Committee on Sanitary and Phytosanitary Measure • ปรับประสานระดับปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดในอาหารที่ยอมรับให้มีได้ของ ยาฆ่าแมลงในผลิตภัณฑ์ที่มีการค้าอย่างแพร่หลาย ให้สอดคล้องกับแนวทางหรือมาตรฐานสากล ภายในปี 2553 • กำหนดค่าสารพิษตกค้างสูงสุด (MRLs) ไปแล้วทั้งสิ้น 826 ค่า
การค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยกับตลาดโลก ที่มา : กรมศุลกากร หมายเหตุ : สินค้าเกษตรพิกัดศุลกากรที่ 1-24
การค้าสินค้าเกษตรไทยกับอาเซียน ปี 2554 การนำเข้า - สินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าการนำเข้าสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ • ปลาทะเล • โอเลอินหรือสเตียรินของเนื้อในเมล็ดปาล์ม และน้ำมันปาล์มดิบ • อาหารปรุงแต่งใช้เลี้ยงทารกที่ทำจากนมและผลิตภัณฑ์ • กาแฟสำเร็จรูป • รังนก • สินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ที่มีการขยายสัดส่วนปริมาณและมูลค่าการนำเข้ามากขึ้น5 อันดับแรกเมื่อเทียบกับปี 2553 ได้แก่ • เนื้อสัตว์แช่แข็ง (โค กระบือ สุกร แกะ) • ไม้ตัดดอก • มะพร้าว ผลสด/แห้ง • น้ำมันปาล์มดิบ* (ม.ค.-มี.ค. 54) • สัตว์มีชีวิต (โค กระบือ)
ผลกระทบ AEC ต่อภาคเกษตรและการเตรียมการสู่ AEC
ผลประโยชน์จากการเป็น AEC ไทยส่งออกสินค้าเกษตรได้มากขึ้น เนื่องจากภาษีที่ลดลง และอาเซียนเป็นตลาดใหญ่ที่มีประชากรเกือบ 600 ล้านคนซึ่งสำคัญสำหรับไทย (สินค้าส่งออกสำคัญ เช่นข้าว น้ำตาล นมและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ไก่แปรรูป อาหารแปรรูป สิ่งปรุงรสอาหาร เป็นต้น) สินค้าวัตถุดิบนำเข้าราคาถูก ทำให้ลดต้นทุนการผลิตเพื่อส่งออก (เช่น ปลา และสัตว์น้ำ) เสริมสร้างโอกาสในการลงทุน เช่น ขยายกิจการ ย้ายฐานการผลิต เกิดการพัฒนาและสร้างนวัตกรรมในสินค้าและบริการ มีการพัฒนาและเพิ่มคุณภาพบุคลากร/แรงงาน ลดช่องว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เพิ่มอำนาจการซื้อ
ประเด็นคุกคามจากการเป็น AEC • เกษตรกรบางสาขาอาจได้รับผลกระทบด้านราคาสินค้าตกต่ำเมื่อมีการนำเข้าสินค้าราคาถูกจากอาเซียน 9 ประเทศ • อุตสาหกรรมเกษตรที่มีประสิทธิภาพการผลิตต่ำอาจแข่งขันไม่ได้ • มาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) และความปลอดภัยด้านอาหารจะถูกหยิบยกมาเป็นเงื่อนไขในการค้ามากขึ้น • นักลงทุนอาเซียนเข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น ผู้ประกอบการต้องเผชิญกับการแข่งขันที่สูงขึ้น • แรงงานมีฝีมือของไทยอาจเคลื่อนย้ายออกไปตลาดต่างประเทศที่มีค่าตอบแทนสูงกว่า 13
10 ประเด็นข้าวไทยสู้เวียดนามไม่ได้ในอาเซียน • เวียดนามมีผลผลิตต่อไร่สูง • เวียดนามมีต้นทุนผลิตข้าวต่ำกว่า และได้กำไรสูงกว่าไทย • รัฐบาลเวียดนามให้ชาวนาทำตามนโยบาย 3 ลด 3 เพิ่ม • ไทยสูญเสียตลาดข้าวในอาเซียนให้กับเวียดนาม • ราคาส่งออกข้าวเวียดนามถูกกว่าไทย • การทำตลาดข้าวเวียดนามแบบทีมเดียวและรุกตลาดข้าวคุณภาพ • เวียดนามร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการผลิตข้าว • มาตรการลดต้นทุนการผลิตให้กับชาวนาเวียดนาม • นโยบาย 30% เพื่อชาวนา • รัฐบาลเวียดนามมีการจัดตั้งตลาดค้าข้าวและคลังสินค้าในต่างประเทศ ที่มา: ฮัทธ์ พิเศาลวานิช และคณะ ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
เปรียบเทียบข้าวเวียดนามกับไทยเปรียบเทียบข้าวเวียดนามกับไทย ที่มา: ฮัทธ์ พิเศาลวานิช และคณะ ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ผลกระทบทางลบ มาตรการที่มิใช่ภาษีหลายรูปแบบถูกใช้มากขึ้น • การขออนุญาตนำเข้า (Import License) • การกำหนดใช้ลังพลาสติกของมาเลเซียเป็นภาชนะบรรจุปลานำเข้า • การกำหนดให้หน่วยงานเฉพาะของรัฐเป็นผู้นำเข้า เช่น มาเลเซียกำหนดให้ Bernas เป็นผู้นำเข้าข้าวแต่เพียงผู้เดียว • การขออนุญาตจากหน่วยงานที่ดูแลก่อนการนำเข้า • กำหนดด่าน/ท่าเรือในการนำเข้าสินค้า เช่น อินโดนีเซีย • การบังคับใช้มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชที่เข้มงวด
เกษตรกร ผลิตของดี มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และราคาถูก ลดต้นทุนการผลิต (จึงจะสามารถแข่งขันได้) ปรับโครงสร้างการผลิตโดยขอใช้เงินกองทุน FTA ของ กษ. ถ้าได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรี ผู้ประกอบการ สร้างความแตกต่างให้กับสินค้า และ เน้นคุณภาพเป็นหลัก รุกและขยายตลาดสินค้าที่ไทยได้เปรียบ เช่น ข้าว ผลไม้ น้ำตาล ลดต้นทุนการผลิต อาทิ ใช้วัตถุดิบนำเข้าราคาถูกจากสมาชิกอาเซียน ปรับภาพลักษณ์บรรจุภัณฑ์ ใช้เทคโนโลยีในการยืดอายุสินค้าเกษตรหลังเก็บเกี่ยว สร้างเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจ การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC (บทบาทภาครัฐ) เชิงรับ(เพื่อการป้องกันผลกระทบจากการนำเข้า) • การบริหารการนำเข้า เช่น • กำหนดให้เป็นสินค้าที่ต้องขอหนังสือรับรองนำเข้าและกำหนดคุณสมบัติผู้นำเข้า • กำหนดมาตรฐานการผลิต เช่น ต้องมีใบรับรองปริมาณสารพิษตกค้าง • กำหนดมาตรการสุขอนามัย(SPS) ที่เข้มงวด เช่นต้องแสดงใบรับรองสุขอนามัย จากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ในประเทศต้นทาง (อย.) • ตรวจเข้มใบรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (กรมศุลกากร) • กำหนดด่านนำเข้า (ให้นำเข้าเฉพาะด่านอาหารและยาและด่านตรวจพืช) • กำหนดช่วงเวลานำเข้า • การปราบปรามการลักลอบนำเข้า/ การนำเข้าที่ผิดกฎหมาย • ใช้มาตรการปกป้องพิเศษ (เก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง)
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC(บทบาทภาครัฐ) เชิงรุก (เพื่อเพิ่มโอกาสส่งออก/มั่นคงด้านอาหาร) • สนับสนุนการรวมกลุ่มเกษตรกร • ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (ระบบน้ำ/ระบบชลประทาน ปุ๋ย วิจัยและพัฒนาพันธุ์ดี) • พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรสู่สากล • สนับสนุนผู้ผลิตรายย่อยเข้าสู่ระบบมาตรฐานสินค้าปลอดภัยต่างๆ อาทิ GAP, GAHP, GHP, GMP, HACCP เป็นต้น • สร้างมูลค่าเพิ่มและผลิตสินค้า ที่หลากหลายเพื่อเพิ่มศักยภาพ การแข่งขันในตลาดโลก • ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมให้กับเกษตรกร • เร่งปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร โดยใช้เงินกองทุน FTA • ส่งเสริมการทำเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เกษตรกร
ท่ามกลางการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น จำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของสินค้าเกษตรและอาหารเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน โดยการ กำหนดมาตรฐานสินค้าอาเซียนเพื่อยกระดับคุณภาพสินค้า ควบคู่ไปกับ การกำหนดมาตรฐานบังคับสำหรับสินค้านำเข้าเพื่อป้องกันการนำเข้าสินค้าที่ด้อยคุณภาพจากต่างประเทศ เพิ่มความเข้มงวดการตรวจสอบรับรองและควบคุมด้านมาตรฐานและความปลอดภัยของสินค้านำเข้า และ เร่งรัดการจัดตั้งระบบเฝ้าระวัง/เตือนภัยผลิตภัณฑ์ที่ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค แนวทางเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน (บทบาทภาครัฐ)
แนวทางการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC ของภาคเกษตร แนวทางรองรับการเปิดเสรีการค้าบริการ การลงทุน และแรงงาน • กระตุ้นและเร่งรัดให้ผู้ประกอบการใช้ประโยชน์จาก AEC โดยเข้าไปลงทุน ทั้งเรื่องการผลิตสินค้าและบริการในประเทศอาเซียน เพื่อสร้างความได้เปรียบการแข่งขัน ด้านต้นทุนการผลิต แรงงาน วัตถุดิบ หรือ ต้นทุนโลจิสติกส์ • เตรียมความพร้อมของบุคลากร/แรงงานมีฝีมือให้มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษและภาษาในอาเซียนอื่นที่จำเป็น • ภาครัฐต้องเป็นผู้สนับสนุน อำนวยความสะดวกด้านการค้าและเน้นการวิจัยและพัฒนา สร้างความเข้าใจเพื่อเตรียมความพร้อมและปรับตัวรองรับการเปิดเสรีเต็มรูปแบบ
สรุปแนวทางการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC ของภาคเกษตรไทย ที่มา : อภิชาติ พงษ์ศรีหดุลชัย, 2553 (บริหารการนำเข้า) (1) ป้องกัน (มาตรการระงับการนำเข้ากรณีนำเข้าที่ผิดปกติ) SSG ภาครัฐ เชิง รับ (2)ปราบปราม (การลักลอบ/ผิดกฎหมาย) (ปรับโครงสร้างการผลิตโดยขอรับการสนับสนุนจากกองทุน FTAของกษ.) ให้ข้อมูล / (3)ปรับโครงสร้าง ถ่ายทอดความรู้ กองทุน FTA (ประสิทธิภาพการผลิต) (4) ปรับปรุง (คุณภาพของผลผลิต) เกษตรกร เชิง รุก (ภาพลักษณ์ของสินค้า) + (5) ไปนอก ลงทุนนอกประเทศ ผู้ประกอบการ เป็น Traders (ซื้อมา(แปรรูป)/ขายไป) 22
การปรับตัวเพื่อเตรียมเข้าสู่ AEC ของภาคราชการ Structural Change ปรับโครงสร้าง Learning เร่งเรียนรู้ Mindset Change เปลี่ยนมุมมอง
การวิเคราะห์ความพร้อมของสินค้าเกษตรการวิเคราะห์ความพร้อมของสินค้าเกษตร การวิเคราะห์ สินค้า อ้อย น้ำตาล ผักผลไม้กระป๋อง : สับปะรด ลำไย และทุเรียน ได้เปรียบและพร้อม ได้เปรียบแต่ไม่พร้อม ยางพารา มีศักยภาพในการส่งออก มีคู่แข่งขัน ขาดงานวิจัยและพัฒนา การแปรรูป ข้าว มีศักยภาพในการส่งออก ผลผลิตต่อไร่ต่ำกว่าคู่แข่ง
การวิเคราะห์ความพร้อมของสินค้าเกษตรการวิเคราะห์ความพร้อมของสินค้าเกษตร การวิเคราะห์ สินค้า เสียเปรียบแต่พร้อม มันสำปะหลัง มีพันธุ์ดี มีพื้นที่ ปลูกมาก มีโรงงาน แปรรูป ที่ทันสมัย มีต้นทุนสูง
การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันการวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน ศักยภาพการแข่งขัน สถานะ 1. Star เป็นสินค้าที่ไทยเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกรายใหญ่ที่สุดในอาเซียน ความต้องการสินค้าในตลาดอาเซียนอยู่ในระดับสูง ซึ่งพิจารณาจากอัตราการขยายตัวในการนำเข้าสินค้าของประเทศไทยในอาเซียน และพิจารณาความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งอยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับคู่แข่ง - เป็นสินค้าที่มีส่วนแบ่งการตลาดสูงถึงร้อยละ 52 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โครงสร้างการผลิตของไทยมุ่งเน้นการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อการส่งออกสูงถึงร้อยละ 95 และทรัพยากรของไทยยังมีความอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะดิน ส่วนปริมาณน้ำฝนอยู่ในระดับเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของสับปะรด สำหรับสับปะรดกระป๋องของไทยมีคุณภาพและได้มาตรฐาน รวมทั้ง มีการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง 1.1 สับปะรดกระป๋อง และน้ำสับปะรด
การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันการวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน ศักยภาพการแข่งขัน สถานะ 1.2 มังคุด - สภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเพาะปลูก คุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับมีการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่ายการผลิตจนถึงการส่งออก มีการวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่า รวมทั้ง มีโครงสร้างการผลิตที่ดี 1.3 ลำไย - สภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเพาะปลูก คุณภาพดีได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับของตลาดอาเซียน และสามารถผลิตนอกฤดูได้ มีการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพเป็นที่ต้องการของตลาด มีการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่เข้มแข็ง 1.4 อ้อยโรงงาน (น้ำตาลทราย) - มีความสามารถในการแข่งขันเหนือประเทศอื่นๆ ในอาเซียน ในหลายด้าน เช่น มีเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย มีข้อได้เปรียบด้านโลจิสติกส์ แต่มีผลผลิตต่อไร่ต่ำ และต้นทุนที่สูงกว่าประเทศอื่น รวมทั้ง เกษตรกรรายย่อยขาดการรวมกลุ่ม
การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันการวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน ศักยภาพการแข่งขัน สถานะ 2. Opportunity เป็นสินค้าที่มีอนาคต เนื่องจาก มีความต้องการทางการตลาดสูง และมีศักยภาพในการสร้างรายได้แต่มีขีดความสามารถในการแข่งขันปานกลาง โดยมีปัญหาที่เกิดจากห่วงโซ่มูลค่าในบางส่วน สินค้าที่อยู่ในตำแหน่งนี้ - มีโรงงานแปรรูปที่ทันสมัยและมาตรฐานการส่งออกที่ดี ในขณะที่ต้นทุนยังคงสูงอยู่เมื่อเทียบกับเวียดนาม แต่มีการวิจัยและพัฒนาอย่างสม่ำเสมอทั้งในเรื่องการพัฒนาสายพันธุ์ที่ดีการป้องกันกำจัดศัตรูพืชและวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว 2.1 มันสำปะหลัง
การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันการวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน ศักยภาพการแข่งขัน สถานะ - วัตถุดิบมีคุณภาพ มีเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย มีการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ สินค้าได้มาตรฐาน แต่ต้นทุนการผลิตยังสูงอยู่ และระบบการขนส่งยังไม่ดี ความต้องการบริโภคในประเทศยังไม่มากเพราะคนไทยนิยมบริโภคกาแฟนำเข้าจากต่างประเทศ 2.2 กาแฟสำเร็จรูป
การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันการวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน ศักยภาพการแข่งขัน สถานะ 3. New Wave เป็นสินค้าที่ตลาดมีความต้องการสูง แต่มีขีดความสามารถในการแข่งขันอยู่ในระดับต่ำในทุกๆ ด้านของห่วงโซ่มูลค่า ต้องมีการพัฒนาหรือปรับตัวให้สามารถแข่งขันได้ดีขึ้น - มีเพียงความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติที่ค่อยข้างดี ในขณะที่ต้นทุนสูง การผลิตต่อไร่ต่ำ การวิจัยและพัฒนามีน้อย โครงสร้างการผลิตส่วนใหญ่เพื่อการแปรรูป มีเพียงร้อยละ 3 เพื่อการบริโภคผลสด 3.1 สับปะรดสด
การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันการวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน ศักยภาพการแข่งขัน สถานะ - ไทยมีส่วนแบ่งในตลาดอาเซียน ร้อยละ 80 - 920 มีสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเพาะปลูก เป็นที่ยอมรับของตลาด การผลิตและการส่งออกได้มาตรฐาน GAP และ GMP ต้นทุนการผลิตสูง แต่ระบบการชลประทานและเทคโนโลยีการผลิตไม่ดี การวิจัยและพัฒนามีน้อย 3.2 มะม่วง
การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันการวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน ศักยภาพการแข่งขัน สถานะ 4. Falling Star เป็นสินค้าที่มีความต้องการทางการตลาดต่ำ แต่มีความสามารถในการแข่งขัน อยู่ในเกณฑ์ดีทุกส่วนของห่วงโซ่มูลค่า จึงต้องพัฒนาและเพิ่มช่องทางการตลาดเพื่อปรับตัวให้อยู่รอด หรือปรับเปลี่ยนการผลิต - คุณภาพมาตรฐานสินค้าดี ส่วนแบ่งตลาดในอาเซียนยังดีอยู่ ภาครัฐยังให้การสนับสนุนการผลิต วิจัยและพัฒนา เกษตรกรมีความชำนาญในการเพาะปลูก แต่ต้นทุนยังสูง การสร้างมูลค่าเพิ่มน้อย ส่วนใหญ่ส่งออกในรูปแบบสินค้าขั้นปฐม 4.1 ยางพารา
การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันการวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน ศักยภาพการแข่งขัน สถานะ - ผลผลิตได้มาตรฐานที่ดี มีการวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต แต่ต้นทุนการผลิตสูง และระบบชลประทานที่ไม่ดี ส่งออกได้น้อยเพราะความต้องการในอาเซียนอยู่ในระดับต่ำ 4.2 ทุเรียน
การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันการวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน ศักยภาพการแข่งขัน สถานะ 5. Question Mark เป็นสินค้าที่มีความต้องการทางการตลาดต่ำ แม้จะมีความสามารถในการแข่งขัน อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง เพราะมีปัญหาที่เกิดจากองห่วงโซ่มูลค่าบางส่วน จำเป็นต้องปรับให้อยู่รอด หรือปรับเปลี่ยนการผลิต - โครงสร้างการผลิตและมาตรฐานการผลิตสินค้าที่ดี สภาพภูมิประเทศเหมาะสมที่จะปลูกข้าว รวมถึง ภาพลักษณ์ของสินค้าที่ดีมีการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงไทยยังเป็นแหล่งส่งออกข้าวรายใหญ่ของโลก ซึ่งมีคู่แข่งสำคัญ คือ เวียดนาม แต่ต้นทุนการผลิตสูง ผลผลิตต่อไร่ต่ำ 5.1 ข้าว
การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันการวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน ศักยภาพการแข่งขัน สถานะ - มีการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงมีเทคโนโลยีการผลิตและมาตาฐานสินค้าดี เป็นที่ยอมรับของตลาด ภาครัฐยังให้การสนับสนุน แต่ผลผลิตต่อไร่ต่ำ ต้นทุนสูง ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรยังสู่เพื่อบ้านเช่น ลาว ไม่ได้ 5.2 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (Grain) 5.3 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (Seed) - ภาพลักษณ์ และระบบโลจิสติกส์ของสินค้ายังดีอยู่ แต่การวิจัยและพัฒนา และเทคโนโลยีการผลิตอยู่ระดับปานกลาง ผลผลิตต่อไร่ต่ำ ต้นทุนสูง โครงสร้างการผลิตยังมีปัญหา
สังคม แนวโน้มโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย- การทำอาชีพเกษตรกรรมของวัยทำงานลดลง- ปริมาณเจ้าหน้าที่ในการอบรมน้อย- คุณภาพระดับการศึกษายังไม่ดีพอ- ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน สิ่งแวดล้อม - ลดสัดส่วนของ co2 ต่อ GDP สูง- ลดการจับปลาหรือลดใช้ประโยขน์จากแหล่งทรัพยากรธรรมชาติมาก- ลดการสูญเสียป่าไม้สูง เศรษฐกิจ - เศรษฐกิจอาเซียนเริ่มดีขึ้น- คนในอาเซียนรายได้เพิ่มขึ้น/รายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้น- ลดความยากจน/ลดความหิวโหย- เริ่มมีการลงทุนข้ามชาติมากขึ้น- ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กฎหมาย - กฎระเบียบของการผลิต การค้าสินค้าเกษตรยังไม่ขัดเจน- การบังคับใช้กฏหมายของประเทศอาเซียนยังไม่เข้มงวด การเกษตรไทยภายใต้ประชาคมอาเซียน การเกษตรไทยภายใต้ประชาคมอาเซียน การเมือง - รัฐบาลมีต้นทุนในด้านนโยบายการเกษตรต่ำ- ความไม่มีเสถียรภาพของรัฐบาลในหลายประเทศ- ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เทคโนโลยี - ปรับใช้เทคโนโลยี- การลงทุนด้าน R&P- การจัดหาเทคโนโลยีขั้นสูงของรัฐบาล