390 likes | 602 Views
เค้าโครง. การวิจัยเพื่อพัฒนา. การจัดการเรียนรู้. 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้. และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน. โรงเรียนศรีพฤฒา. จากแนวคิด การวิจัยและพัฒนานวตกรรม ของ รศ. ดร. สุพักตร์ พิบูลย์. สูตรพัฒนานวตกรรม. นวัตกรรม. วิเคราะห์ สภาพปัจจุบัน/ ปัญหาการสอน. ตรวจสอบสภาพ/
E N D
เค้าโครง การวิจัยเพื่อพัฒนา การจัดการเรียนรู้
8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โรงเรียนศรีพฤฒา
จากแนวคิด การวิจัยและพัฒนานวตกรรม ของ รศ. ดร. สุพักตร์ พิบูลย์
สูตรพัฒนานวตกรรม นวัตกรรม วิเคราะห์ สภาพปัจจุบัน/ ปัญหาการสอน ตรวจสอบสภาพ/ วิเคราะห์ปัญหา อีกครั้ง X 2 สื่อ 1 วิธีการใหม่ ๆ โครงการ ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
แผนดำเนินงานทุกกิจกรรมแผนดำเนินงานทุกกิจกรรม 15-30 มิถุนายน สำรวจและกำหนดประเด็นศึกษา เลือกกลุ่มตัวอย่างและสร้างรูปแบบกิจกรรม 1-15 กรกฎาคม ทดลองกิจกรรม 18 กรกฎาคม– 9 กันยายน ดำเนินงานแต่ละกิจกรรม 12-16 กันยายน สำรวจผลหลังการใช้กิจกรรม 1-31 ตุลาคม วิเคราะห์ข้อมูล / สรุปและรายงานผล
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทุกกลุ่มสาระฯได้รูปแบบกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมนักเรียน 2. ได้แนวทางในการปรับพฤติกรรมนักเรียน
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ผู้วิจัย : ครูวิรวรรณ หอมหวล ปัญหา : นร.เข้าเรียนช้า นวตกรรม : กระบวนการกลุ่ม เครื่องมือ : บันทึกการเข้าเรียน กลุ่มตัวอย่าง : นร. ม4/10 จำนวน 40 คน
แก้ปัญหานร.เข้าเรียนช้าแก้ปัญหานร.เข้าเรียนช้า นวัตกรรม นร. เข้าห้องเรียนช้า สำรวจ การเข้าห้องเรียน อีกครั้ง ใช้ กระบวนการกลุ่ม 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้วิจัย : ครูชูศรี พรมจันทร์ ปัญหา : นร.สนใจบทเรียนวิทยาศาสตร์น้อย นวตกรรม : สื่อนำเสนอ เครื่องมือ : แบบทดสอบ กลุ่มตัวอย่าง : นร. ม.5/2 จำนวน 40 คน
แก้ปัญหา นักเรียนสนใจบทเรียนน้อย นวัตกรรม พบว่า นักเรียน ขาดความสนใจ บทเรียน ตรวจสอบ ความสนใจ ในบทเรียน อีกครั้ง ใช้สื่อนำเสนอ เน้นให้เด็กร่วม อภิปรายและแก้ปัญหา เป็นระยะ ๆ 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
3. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ผู้วิจัย : ครูกลุ่มคณิตศาสตร์ ปัญหา : นร.ไม่ชอบวิชาคณิตศาสตร์ นวตกรรม : กิจกรรมปรับเจตคติ เครื่องมือ : แบบสำรวจ แบบประเมิน กลุ่มตัวอย่าง : นร. ทุกระดับ จำนวน 1000 คน
แก้ปัญหา นักเรียนไม่ชอบวิชาคณิตศาสตร์ นวัตกรรม พบว่า นักเรียน ไม่ชอบวิชา คณิตศาสตร์ ตรวจสอบเจคติ ที่มีต่อ วิชาคณิตศาสตร์ อีกครั้ง ใช้กิจกรรม เน้นส่งเสริม เจตคติที่ดีต่อ วิชาคณิตศาสตร์ เป็นระยะ ๆ 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
5. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาฯ ผู้วิจัย : ครูจิราพร โปสรักขะกะ ปัญหา : นร.ใช้โทรศัพท์ขณะเรียน นวตกรรม : มาตรการหักคะแนน เครื่องมือ : แบบบันทึกคะแนน กลุ่มตัวอย่าง : นร. ม.4/7 จำนวน 38 คน
แก้ปัญหา การใช้โทรศัพท์ในขณะเรียน นวัตกรรม พบว่า นักเรียน ใช้โทรศัพท์ ในขณะเรียน ตรวจสอบ ความร่วมมือ อีกครั้ง ใช้กิจกรรม มาตรการหักคะแนน เน้นให้ นร. อภิปรายและแก้ปัญหา เป็นระยะ ๆ 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
ผู้วิจัย : ครูเอื้อพร ชลสินธุ์สงครามชัย ปัญหา : นร.ไม่เรียนวิชาสังคมฯ นวตกรรม : กระบวนการเฝ้าระวัง เครื่องมือ : แบบบันทึกการมาเรียน กลุ่มตัวอย่าง : นร. ม.3/6 จำนวน 36 คน 4. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
แก้ปัญหา นักเรียนไม่เข้าเรียนวิชาสังคมศึกษา นวัตกรรม พบว่า นักเรียน ขาดเรียนบ่อย ตรวจสอบ การเข้าเรียนเรียน อีกครั้ง ใช้กระบวนการ เฝ้าระวัง กำกับ/ติดตาม และแก้ปัญหา เป็นระยะ ๆ ตลอด 2 เดือน 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
6. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ผู้วิจัย : ครูนพมาส มีวัตถา ปัญหา : นร.ไม่ส่งงาน นวตกรรม : กระบวนการเสริมแรงบวก “ชม” เครื่องมือ : บันทึกการส่งงาน กลุ่มตัวอย่าง : นร. ม.3/7, 10 จำนวน 80 คน
แก้ปัญหา นักเรียนไม่ทำงานส่ง นวัตกรรม พบว่า นักเรียน ไม่ทำงานส่ง ตรวจสอบ การส่งงาน อีกครั้ง ใช้กระบวนการ เสริมแรง ทางบวก “ชม” 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
7. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ผู้วิจัย : ครูช่างอุตสาหกรรม ปัญหา : นร.ขาดค่านิยมการลดพลังงานไฟฟ้า นวตกรรม : กิจกรรมปลูกฝังวินัยการประหยัดไฟฟ้า เครื่องมือ : ตารางบันทึกการลดพลังงาน กลุ่มตัวอย่าง : นร. แผนช่างฯ จำนวน 130 คน
แก้ปัญหา นักเรียนขาดวินัยในการประหยัดไฟฟ้า นวัตกรรม พบว่า นักเรียน ขาดค่านิยม ประหยัดไฟ ตรวจสอบ พฤติกรรม การประหยัด ไฟฟ้า อีกครั้ง ใช้กิจกรรม ปลูกฝังวินัย และค่านิยม ประหยัดไฟ 2 เดือน 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
การสร้างวินัยด้านการประหยัดไฟสำหรับนักเรียนแผนช่างอุตสาหกรรม โรงเรียนศรีพฤฒา • เครื่องมือ 1. ตารางบันทึกการสำรวจสวิชไฟที่เปิดไว้โดยไม่จำเป็น...ทุกวัน 2. แบบประเมินผลการจัดกิจกรรมปลูกฝังวินัยด้านการประหยัดพลังงาน สำหรับนักเรียน แผนช่างอุตสาหกรรม ครูช่างอุตสาหกรรม
กิจกรรมพัฒนา(Treatment)…X • กำหนดแนวปฏิบัติปิดไฟทุกดวงที่ไม่จำเป็น • แต่งตั้งนักเรียนทำหน้าที่ผู้จัดการด้านพลังงานในแต่ละสัปดาห์ • ตรวจสอบ การไม่ปิดสวิชไฟบนอาคารเรียนในแต่ละชั้น • ประเมินความก้าวหน้าในการปิดสวิชไฟในแต่ละสัปดาห์ • ปฏิบัติการปลูกฝังค่านิยมในการประหยัดพลังงาน 2 เดือน
8. กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ ผู้วิจัย : ครูสอนภาษา ตปท. 6 ระดับ ปัญหา : นร. มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ นวตกรรม : กิจกรรมปลูกฝังพฤติกรรมเด็กดีศรีพฤฒา เครื่องมือ : แบบสำรวจพฤติกรรม กลุ่มตัวอย่าง : นร. ระดับ ม.1-6 จำนวน 210 คน
แก้ปัญหา นักเรียนมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ นวัตกรรม พบว่า นักเรียน มีพฤติกรรม ไม่พึงประสงค์ ประเมิน พฤติกรรม ในสถานการณ์ ต่างๆ อีกครั้ง ใช้กิจกรรม ปลูกฝังพฤติกรรม เด็กดีศรีพฤฒา 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
คำนิยาม “พฤติกรรมไม่พึงประสงค์” • นั่งโยกโต๊ะและเก้าอี้ • ใช้โทรศัพท์ขณะเรียน • ตะโกนด่าว่ากันเสียงดัง • เคาะโต๊ะเรียน • ขีดเขียนโต๊ะเรียน • เปิดไฟโดยไม่จำเป็น • รับประทานอาหารในห้องเรียน • ไม่เก็บภาชนะเมื่อรับประทานอาหารเสร็จ • ไม่เดินชิดขวา • ทิ้งขยะผิดที่
9. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ผู้วิจัย : ครูระดับ ม. 2-4-5-6 ปัญหา : นร.ไม่สำรวม / ทำลายทรัพย์สิน รร. / มีเรื่องชู้สาว / ไม่ซื่อสัตย์ นวตกรรม : 4 กิจกรรมพัฒนาสู่ความเป็นผู้ประเสริฐ เครื่องมือ : แบบบันทึก / รายงาน / แบบสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง : นร. ม2-4-5-6 จำนวน 200 คน
นิยาม คุณลักษณะ “ความเป็นผู้ประเสริฐ” 1. มีความสำรวม 2. รักษาทรัพย์สินของโรงเรียน 3. ไม่มีเรื่องชู้สาว 4. ซื่อสัตย์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สู่ความเป็นผู้ประเสริฐ หมั่นเคี่ยวเข็ญ เลี้ยวกลับมาบ่ม เน้นประสบการณ์จริง สิ่งดีทำได้ ไม่ต้องรอเดี๋ยว
กิจกรรม หมั่นเคี่ยวเข็ญ • กำหนดแนวปฏิบัติเพื่อ ความสำรวมไม่ทำลายทรัพย์สิน รร.ไม่มีเรื่องชู้สาวไม่ซื่อสัตย์ • อบรมทุกชั่วโมงโฮมรูม • แต่งตั้งนักเรียนเป็นผู้จัดการฝ่ายบุคคล • สำรวจพฤติกรรมไม่สำรวม ทำลายทรัพย์สิน รร. มีเรื่องชู้สาว และไม่ซื่อสัตย์
กิจกรรม - เน้นประสบการณ์จริง • กำหนดแนวปฏิบัติก่อนการไปทัศนศึกษาทุกครั้งเกี่ยวกับกริยา มรรยาท การแต่งกาย และความเคารพสถานที่ • แต่งตั้งผู้จัดการบุคคลบันทึกพฤติกรรมนักเรียนและรายงานเมื่อกลับจากทัศนศึกษา
กิจกรรม : สิ่งดีทำได้ ไม่ต้องรอเดี๋ยว • มีการประกาศเกียรติคุณ ยกย่อง ชมเชย ให้รางวัล นร.ที่ทำดี ให้ปรากฏต่อสาธารณะ • แต่งตั้ง นร. สำรวจและทำสถิติ นร.ทำดี และได้รับการประกาศเกียรติคุณในช่วง 2 เดือน
กิจกรรม : เลี้ยวกลับมาบ่ม • ครูวิจัยติดตามผลการปฏิบัติ • ทำบันทึกการแนะนำ ตักเตือน • สังเกตพฤติกรรมหลังการตักเตือน
แก้ปัญหา: นักเรียนไม่สำรวม...ทำลายทรัพย์สิน รร...มีเรื่องชู้สาว....ไม่ซื่อสัตย์ นวัตกรรม พบว่า นร.มีพฤติกรรม ไม่พึงประสงค์ ตรวจสอบ พฤติกรรม สู่ความเป็น ผู้ประเสริฐ อีกครั้ง • ใช้กิจกรรม 2 เดือน : • หมั่นเคี่ยวเข็ญ • เน้นประสบการณ์จริง • สิ่งดีทำได้ไม่รอเดี๋ยว • เลี้ยวกลับมาบ่ม 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
สรุป เค้าโครงวิจัยและพัฒนาของ 8 กลุ่มสาระและกิจกรรมพัฒนาฯ ของ โรงเรียนศรีพฤฒา
งานของครู คือการพัฒนานวัตกรรม นวัตกรรม สังเกต/ วัดลักษณะ วิเคราะห์ สภาพปัจจุบัน/ ปัญหาการสอน สังเกต/ วัดลักษณะ วิเคราะห์ สภาพปัจจุบัน/ ปัญหาการสอน อีกครั้ง X 1 สื่อ 2 โครงการ วิธีการใหม่ ๆ ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
จบการนำเสนอ เค้าโครงวิจัย
เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.(2542) แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (เล่ม 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรมศาสนา. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545) การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน. เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว. กระทรวงศึกษาธิการ.(2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: คุรุสภา ลาดพร้าว. โรงเรียนศรีพฤฒา. (2546) พันธะสัญญา แผนกลยุทธโรงเรียนศรีพฤฒา 2546. http://ns.sts.ac.th/web สุพักตร์ พิบูลย์. (2548) แนวทางการทำวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ :วิจัยในชั้นเรียน 2548. http://school.obec.go.th/sriprueta/drsupak.ppt
พบกันใหม่ เมื่อการพัฒนาลุล่วง