310 likes | 494 Views
สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. กรมควบคุมโรค. สถานการณ์ ผลกระทบต่อสุขภาพจากสารกำจัดศัตรูพืช. สถานการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพจากสารกำจัดศัตรูพืช 2550-2555. นพ.พิบูล อิสสระพันธุ์ พบ., วทม.(เทคโนโลยีสารสนเทศ), วุฒิบัตรโสต ศอ นาสิก, อนุมัติบัตรอาชีวเวชศาสตร์
E N D
สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค สถานการณ์ ผลกระทบต่อสุขภาพจากสารกำจัดศัตรูพืช
สถานการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพจากสารกำจัดศัตรูพืช2550-2555สถานการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพจากสารกำจัดศัตรูพืช2550-2555 นพ.พิบูล อิสสระพันธุ์ พบ., วทม.(เทคโนโลยีสารสนเทศ),วุฒิบัตรโสต ศอ นาสิก, อนุมัติบัตรอาชีวเวชศาสตร์ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค
The whole picture จำนวนผู้ป่วย สปสช จำนวนผู้เสี่ยงพบจากการตรวจเลือด Picture credit to http://blog.gustavkaser.com.au/wp-content/uploads/2013/09/iceberg-poster.jpg ไม่มีตัวเลขผู้ป่วยเรื้อรัง!!
ที่มาของข้อมูล • ข้อมูลผู้ป่วยในที่มีหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2550 -2555 • วิเคราะห์เฉพาะหมวด T60*, X48*, X49*, X68*, X69* ซึ่งเป็นข้อมูลการป่วยเฉียบพลันเท่านั้น • ตัดผู้ป่วยสิทธิอื่นๆ ออก เหลือแต่ UCS & WEL และคำนวณอัตราต่อแสนด้วยฐานที่เป็น UCS & WEL เท่านั้น • อัตราป่วยอัตราตาย อัตราป่วยตาย คำนวณจากผู้ป่วยในเท่านั้น • ข้อมูลการตรวจเลือดโดย Reactive Paper
รหัสที่ใช้บ่อย หมวด T60 พิษจากสารกำจัดศัตรุพืช • T60.0ออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมต Organophosphate and carbamate insecticides • T60.1สารฮาโลจีเนต Halogenated insecticides • T60.2สารกำจัดแมลงอื่นๆ Other insecticides • T60.3สารกำจัดวัชพืชและเชื้อรา Herbicides and fungicides • T60.4สารเบื่อหนู Rodenticides • T60.8สารกำจัดศัตรูพืชอืนๆ Other pesticides • T60.9สารกำจัดศัตรุพืชที่ไม่ระบุ Pesticide, unspecified
จำนวนผู้ป่วยในจำแนกตามสารเคมีและปีงบประมาณจำนวนผู้ป่วยในจำแนกตามสารเคมีและปีงบประมาณ ไม่ระบุ สารกำจัดวัชพืช ออร์กาโนฟอสเฟต T60.0 ออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมต, T60.1 สารฮาโลจีเนต , T60.2 สารกำจัดแมลงอื่นๆ T60.3 สารกำจัดวัชพืชและเชื้อรา , T60.4 สารเบื่อหนู , T60.8 สารกำจัดศัตรูพืชอืนๆ , T60.9 สารกำจัดศัตรุพืชที่ไม่ระบุ
อัตราป่วยต่อแสน ไม่ระบุ สารกำจัดวัชพืช ออร์กาโนฟอสเฟต T60.0 ออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมต, T60.1 สารฮาโลจีเนต , T60.2 สารกำจัดแมลงอื่นๆ T60.3 สารกำจัดวัชพืชและเชื้อรา , T60.4 สารเบื่อหนู , T60.8 สารกำจัดศัตรูพืชอืนๆ , T60.9 สารกำจัดศัตรุพืชที่ไม่ระบุ
อัตราตายรวมทุกประเภทสารเคมีต่อแสนประชากรอัตราตายรวมทุกประเภทสารเคมีต่อแสนประชากร
เปรียบเทียบอัตราตายต่อแสนสารออร์กาโนฟอสเฟตและสารฆ่าหญ้าเปรียบเทียบอัตราตายต่อแสนสารออร์กาโนฟอสเฟตและสารฆ่าหญ้า T60.0 ออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมต, T60.3 สารกำจัดวัชพืชและเชื้อรา
กราฟเปรียบเทียบอัตราตายต่อแสนประชากรระหว่างสารกำจัดศัตรูพืชและไข้เลือดออกกราฟเปรียบเทียบอัตราตายต่อแสนประชากรระหว่างสารกำจัดศัตรูพืชและไข้เลือดออก
อัตราการป่วยตาย (ตายระหว่างการรักษา)คิดเป็นร้อยละ
แผนที่จังหวัดที่อัตราป่วยรวมสูงแผนที่จังหวัดที่อัตราป่วยรวมสูง ทุกโรค All Cases ทุกเหตุ All Cause
Organophosphate Accident+Suicide Herbicide Accident+Suicide
เฉพาะอุบัติเหตุจากสารกำจัดศัตรูพืชทุกสารรวมกันเฉพาะอุบัติเหตุจากสารกำจัดศัตรูพืชทุกสารรวมกัน Accident/ทุกสาร พบบ่อยในภาคกลาง
Pesticide Suicide map—only here!ทำร้ายตัวเอง ทุกสารรวมกัน Suicide ทุกสาร พบบ่อยในภาคเหนือ
Accident สารไม่เจาะจง Suicide สารกำจัดวัชพืช • 4/5 รายเป็นจากการทำร้ายตนเอง 1/5 เป็นอุบัติเหตุ ซึ่ง 80% ของเคสจากการทำงานถูกเรียกว่า “เป็นอุบัติเหตุ”
EnzymeCholinesterase ทำงานปกติ Acetyl choline พิษเรื้อรัง Enzyme ที่มีสารกำจัดศัตรูพืช เกาะจนทำงานไม่ได้ สารกำจัดศัตรูพืช
ประเทศไทยไม่มีข้อมูลพิษเรื้อรัง แม้งานวิจัยจะแสดงให้เห็นว่ามีผลต่อระบบประสาท เด็กในครรภ์ของแม่ที่สัมผัสสารกำจัดศัตรูพืขมีการพัฒนาสมองที่ผิดปกติ
โรคอัลไซม์เมอร์ = ดีดีที+กรรมพันธุ์+ฝุ่นขนาดเล็ก+ไนโตรเจนในอาหาร
สรุปผลการการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในกลุ่มเกษตรกร ปี 2554-2556
The whole picture in year 2555 คนป่วย 7339 คน อย่างน้อย 30% ของ 64 ล้านคน =19.2 ล้านคน) Picture credit to http://blog.gustavkaser.com.au/wp-content/uploads/2013/09/iceberg-poster.jpg
สรุป • แนวโน้มการป่วยด้วยโรคจากสารกำจัดศัตรูพืชคงที่อยู่ที่ 15 รายต่อแสน • จำนวนผู้ป่วยจากสารกำจัดแมลงใกล้เคียงกับสารกำจัดวัชพืช • อัตราตายของสารกำจัดวัชพืช (1.03 ต่อแสน) สูงกว่าสารกำจัดแมลง(0.32 ต่อแสน)---ปี 2555 • อัตราป่วยตายของสารกำจัดวัชพืช (17.59%) สูงกว่าสารกำจัดแมลง(6.41%) ---ปี 2555 • จังหวัดที่มีผู้ป่วยมาก คืออ่างทอง และจังหวัดทางภาคตะวันตก • การทำร้ายตนเองโดยสารกำจัดศัตรูพืชพบมากทางภาคกลางและภาคเหนือ
ข้อมูล 6 ปี (2550-2555)(ดูกราฟ เป็นหลัก) • มีผู้ป่วยใน 47,822 ครั้ง กรองออกเหลือเพียง 44,129 ครั้ง T60.0 ออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมต, T60.1 สารฮาโลจีเนต , T60.2 สารกำจัดแมลงอื่นๆ T60.3 สารกำจัดวัชพืชและเชื้อรา , T60.4 สารเบื่อหนู , T60.8 สารกำจัดศัตรูพืชอืนๆ , T60.9 สารกำจัดศัตรุพืชที่ไม่ระบุ
อัตราป่วยต่อแสน(ดูกราฟ เป็นหลัก)
สถานที่เกิดเหตุปี 2555 (หาได้ 6,614 รายจาก 7,339 ราย)
กิจกรรมระหว่างเกิดเหตุ (หาได้ 6,426 รายจาก 7,339 ราย)
ความแตกต่างระหว่าง X48,X68:Accident is compatible with work, and suicide is not.
เปรียบเทียบอัตราตายต่อแสนประชากรระหว่างสารกำจัดศัตรูพืชและไข้เลือดออก(ดูกราฟ)เปรียบเทียบอัตราตายต่อแสนประชากรระหว่างสารกำจัดศัตรูพืชและไข้เลือดออก(ดูกราฟ) http://www.hiso.or.th/hiso/visualize/Index.php?links=v263&show=2&no=75&menu=1อ้างสำนักระบาดฯ ปี 2554 สารกำจัดอัตราตายเป็น 13.2 เท่าของไข้เลือดออก
สาเหตุของการเกิดพิษ 6,701 รายจาก 7,339(ดูกราฟ) X48 อุบัติเหตุจากสารกำจัดศัตรุพืช, X49 อุบัติเหตุจากสารเคมีอื่นๆ X68 ทำร้ายตนเองจากสารกำจัดศัตรูพืช, X69 ทำร้ายตนเองจากสารเคมีอื่นๆ T60.0 ออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมต, T60.1 สารฮาโลจีเนต , T60.2 สารกำจัดแมลงอื่นๆ, T60.3 สารกำจัดวัชพืชและเชื้อรา , T60.4 สารเบื่อหนู , T60.8 สารกำจัดศัตรูพืชอืนๆ , T60.9 สารกำจัดศัตรุพืชที่ไม่ระบุ