1 / 48

ยินดีต้อนรับ

ยินดีต้อนรับ. คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม วุฒิสภา ด้วย ความยินดียิ่ง. วันจันทร์ที่ 24 ธันวาคม 2555 ณ ห้อง ประชุม กพร. ชั้น 1. กรอบการนำเสนอ. ภารกิจและโครงสร้างกระทรวง อุตสาหกรรม. นโยบายรัฐบาล นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.

lukas
Download Presentation

ยินดีต้อนรับ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยินดีต้อนรับ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม วุฒิสภา ด้วยความยินดียิ่ง วันจันทร์ที่ 24 ธันวาคม 2555 ณ ห้องประชุม กพร. ชั้น 1

  2. กรอบการนำเสนอ • ภารกิจและโครงสร้างกระทรวงอุตสาหกรรม • นโยบายรัฐบาล นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม • แผนยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม ปี พ.ศ. 2555 - 2558 • งบประมาณกระทรวงอุตสาหกรรม ปี พ.ศ. 2556 • การทำเหมืองแร่โพแทช • มาตรการส่งเสริมและพัฒนา SMEs • เกษตรกรชาวไร่อ้อยขอให้พิจารณา • ตั้งโรงงานน้ำตาลแห่งใหม่ในจังหวัดสระแก้ว

  3. ภารกิจหน้าที่ของกระทรวงอุตสาหกรรมภารกิจหน้าที่ของกระทรวงอุตสาหกรรม • จัดทำนโยบายด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรม • ส่งเสริมการลงทุน • กำกับดูแลการประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมและ • อุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ • ส่งเสริมและพัฒนา SMEs และวิสาหกิจชุมชน • ส่งเสริมและพัฒนางานการมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม • กำกับดูแล ส่งเสริมอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย

  4. จำนวนข้าราชการ จำนวนลูกจ้างประจำ 3,715 1,031 โครงสร้างกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม 304 25 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน กลุ่มภารกิจด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กลุ่มภารกิจด้านส่งเสริมอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กลุ่มภารกิจด้านกำกับ ตรวจสอบกระบวนการผลิต สำนักงานรัฐมนตรี 27 - สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 13716 569350 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม สำนักงานปลัดอุตสาหกรรม 1,063 281 601 86 11173 สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย สถาบันเครือข่าย 1. สถาบันไทย-เยอรมัน 2. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ 3. สถาบันอาหาร 4. สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ 5. สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ 6. สถาบันยานยนต์ 7. สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 8. สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย 9. สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 10. สถาบันการก่อสร้างแห่งประเทศไทย 11. สถาบันพลาสติก 12. สถาบันพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพารา หน่วยงานในกำกับ สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม [200] 44437 สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 459 163 กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ รัฐวิสาหกิจ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย [634] หน่วยงานที่ดูแลร่วมกับกระทรวงการคลัง ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย[1,789]

  5. การเชื่อมโยง นโยบายรัฐบาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม กับ ยุทธศาสตร์ของกระทรวงอุตสาหกรรม นโยบายรัฐบาล ที่เกี่ยวข้อง นโยบายเร่งด่วน ชายแดนภาคใต้/AEC/OTOP ครัวโลก/เกษตรแปรรูป/Logistics/SMEs/สิ่งแวดล้อม/สร้างความเชื่อมั่น/สร้างสรรค์ นโยบายเศรษฐกิจ SMEs/AEC/OTOP/ครัวโลก/ฮาลาล/กรุงเทพเมืองแฟชั่น/ระบบเตือนภัย/การลงทุน/พื้นที่อุตสาหกรรมใหม่/ป้องกันอุบัติภัย/การบังคับใช้กฎหมาย/มาตรฐาน/แสวงหาแหล่งแร่ นโยบาย รวอ. การเชื่อมโยงอุตสาหกรรมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และปรับโครงสร้างการผลิตสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้ ยุทธศาสตร์ อก. การส่งเสริมสถานประกอบการสู่อุตสาหกรรมสีเขียว การส่งเสริมการลงทุนและพัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการประกอบธุรกิจและพัฒนาอุตสาหกรรม การเสริมสร้างขีดความสามารถของภาคอุตสาหกรรมให้แข่งขันได้ทุกระดับ การพัฒนาสมรรถนะองค์กร เพื่อสนองตอบความต้องการของผู้ประกอบการและประชาชน

  6. เชื่อมโยงอุตสาหกรรมฯ ส่งเสริมการลงทุนฯ เสริมสร้างขีดความสามารถฯ ส่งเสริมสถานประกอบการฯ พัฒนาสมรรถนะองค์กรฯ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรมปี พ.ศ. 2555 - 2558

  7. กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมมุ่งสู่การพัฒนาอุตสาหกรรม อย่างยั่งยืน และสามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก เพื่อผู้ประกอบการและประชาชน วิสัยทัศน์ รับผิดชอบในหน้าที่ เสนอแนะอย่างสร้างสรรค์ มีความซื่อสัตย์สุจริต จิตอาสาบริการ ค่านิยม 7

  8. พันธกิจกระทรวงอุตสาหกรรมพันธกิจกระทรวงอุตสาหกรรม (1) กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พร้อมทั้งชี้นำและเตือนภัยภาคอุตสาหกรรมให้ก้าวทันโลก (5) บูรณาการและติดตามการดำเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมกับหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลักดันให้เกิดประสิทธิผล (2) สร้างโอกาสและสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการลงทุนและ การประกอบกิจการ พันธกิจ (3) สนับสนุนและเสริมสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชนให้มีความเข้มแข็ง สามารถแข่งขันได้ ในตลาดโลก และมีการยกระดับพื้นฐานทางปัญญา เพื่อการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง (4) กำกับดูแลการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม ให้มีการพัฒนา อย่างสมดุลและยั่งยืน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ชุมชนและสังคม

  9. ยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม • การเชื่อมโยงอุตสาหกรรมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และปรับโครงสร้าง • การผลิตสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้ 2. การส่งเสริมการลงทุนและพัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการประกอบธุรกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรม 3. การเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการให้สามารถแข่งขันได้ ในตลาดโลก 4. การส่งเสริมสถานประกอบการสู่อุตสาหกรรมสีเขียว 5. การพัฒนาสมรรถนะองค์กร เพื่อสนองตอบความต้องการของผู้ประกอบการ และประชาชน

  10. ยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ 1. พัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นอุตสาหกรรมชั้นนำ เชื่อมโยงภาคการผลิต ทั้งด้านวัตถุดิบและ การตลาดกับประเทศในประชาคมอาเซียน 2. ปรับโครงสร้างการผลิตของอุตสาหกรรมสู่อุตสาหกรรม ฐานความรู้ อุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์รวมทั้ง การเป็นครัวโลกและเมืองแฟชั่น • การเชื่อมโยงอุตสาหกรรมสู่ประชาคมเศรษฐกิจ • อาเซียนและปรับโครงสร้างการผลิตสู่อุตสาหกรรมฐาน • ความรู้ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมมีโอกาส ความพร้อม และได้รับบริการอย่างทั่วถึงในการลงทุน และ ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ 2. การส่งเสริมการลงทุนและพัฒนาปัจจัยแวดล้อม ให้เอื้อต่อการประกอบธุรกิจและพัฒนาอุตสาหกรรม 3. การเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการให้ สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก ผู้ประกอบการ วิสาหกิจขาดกลางและขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชน และบุคลากรภาคอุตสาหกรรมมี ศักยภาพสูงขึ้น รวมทั้งการส่งเสริมการพัฒนาทุนมนุษย์ ภาคอุตสาหกรรมมีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนโดยมีความรับผิดชอบต่อสังคม และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน 4. การส่งเสริมสถานประกอบการสู่อุตสาหกรรมสีเขียว กระทรวงอุตสาหกรรมมีความสามารถในการให้ บริการแก่ผู้ประกอบการและประชาชนอย่างมี ประสิทธิภาพ 5. การพัฒนาสมรรถนะองค์กรเพื่อสนองตอบ ความต้องการของผู้ประกอบการและประชาชน

  11. ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเชื่อมโยงอุตสาหกรรมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และปรับโครงสร้าง การผลิตสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้ • เป้าประสงค์ • พัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นอุตสาหกรรม ชั้นนำ เชื่อมโยงภาคการผลิต ทั้งด้านวัตถุดิบและการตลาดกับประเทศในประชาคมอาเซียน • ปรับโครงสร้างการผลิตของอุตสาหกรรม สู่อุตสาหกรรมฐานความรู้ อุตสาหกรรม เชิงสร้างสรรค์ รวมทั้งการเป็นครัวโลก และเมืองแฟชั่น กลยุทธ์ 1. สร้างความพร้อมและพัฒนาศักยภาพภาคอุตสาหกรรม ให้มีคุณค่าในเชิงสร้างสรรค์ นำครัวไทยสู่ครัวโลกและเป็นเมืองแฟชั่น รองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2. การเชื่อมโยงภาคอุตสาหกรรมสู่อุตสาหกรรมเศรษฐกิจอาเซียน และเขตเศรษฐกิจอื่นๆ 3. สนับสนุนอุตสาหกรรมให้มีการพัฒนาบนพื้นฐานของ การผลิตที่ใช้ฐานความรู้ เพื่อผลิตภาพการผลิตและลด การใช้แรงงานภาคอุตสาหกรรม 4. ส่งเสริมให้สถานประกอบการให้มีศักยภาพและสามารถพึ่งพาซึ่งกันและกัน (Otagai Business Continuity) • ตัวชี้วัด • มูลค่าดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเป้าหมายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.9 • มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 3.6 ล้านล้านบาท • มูลค่าการค้าระหว่างไทยกับประเทศในกลุ่มอาเซียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 16 ต่อปี อุตสาหกรรมเป้าหมาย ได้แก่ 1) กลุ่มอุตสาหกรรมสนับสนุนและอุตสาหกรรมหลัก (ประกอบด้วย อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ และอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์) 2) กลุ่มอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป (ประกอบด้วย อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมยาง) และ 3) กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (ประกอบด้วย อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ และอุตสาหกรรมอัญมณี)

  12. ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมการลงทุนและพัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการประกอบธุรกิจและพัฒนาอุตสาหกรรม เป้าประสงค์ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมมีโอกาส ความพร้อม และได้รับบริการอย่างทั่วถึงในการลงทุนและประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมการลงทุนไทยทั้งในและต่างประเทศ และการลงทุนจากต่างประเทศ เพื่อสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค 2. สนับสนุน และจัดการพื้นที่อุตสาหกรรม (Zoning Planning) อย่างเหมาะสม 3. ผลักดันการแก้ไข ปรับปรุง และออกกฎหมายและกฎระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเพื่อลดอุปสรรคและต้นทุน ในการประกอบธุรกิจ และส่งเสริมการยกระดับของภาคอุตสาหกรรม 4. จัดตั้งกองทุน และเชื่อมโยงการใช้ประโยชน์จากกองทุน 5. พัฒนาระบบข้อมูลเชิงลึกด้านเศรษฐกิจ เพื่อเตือนภัย การตัดสินใจการลงทุนในอาเซียนและด้านอื่นๆ ตัวชี้วัด 1. มียุทธศาสตร์และมาตรการส่งเสริม การลงทุนใหม่ในช่วง 5 ปี 2. มูลค่าลงทุนไทยไปยังต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้านและประเทศ ในภูมิภาคเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าปีละ 10 ล้านเหรียญสหรัฐฯ 3. สัดส่วนการออกบัตรส่งเสริมในกิจการเทคโนโลยีสูงต่อการออกบัตรส่งเสริมในกิจการอุตสาหกรรมทั้งหมด ร้อยละ 67 4. พื้นที่ในการจัดตั้งนิคมและเขตประกอบการอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 1,000 ไร่

  13. ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการให้สามารถแข่งขันได้ ในตลาดโลก เป้าประสงค์ ผู้ประกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชน และบุคลากรภาคอุตสาหกรรม มีศักยภาพสูงขึ้น รวมทั้งการส่งเสริม การพัฒนาทุนมนุษย์ กลยุทธ์ 1. เสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการให้มีศักยภาพเพิ่มขึ้น 2. เสริมสร้างประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ และโซ่อุปทานของภาคอุตสาหกรรมให้มีความได้เปรียบในการแข่งขัน 3. พัฒนามาตรฐานระบบและผลิตภัณฑ์ รวมถึงการบังคับใช้ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อประชาชน และเอื้อต่อการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม 4. สร้างเครือข่ายวิสาหกิจ (Cluster) ของอุตสาหกรรม 5. สนับสนุนและผลักดันการเตรียมกำลังคนเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม ให้มีจำนวนเพียงพอและมีทักษะ สอดคล้องกับความต้องการของอุตสาหกรรมแต่ละสาขา 6. ผลักดันให้มีการวิจัยการออกแบบในเชิงพาณิชย์ และการร่วมลงทุน (VentureCapital) ตัวชี้วัด 1. จำนวนผู้ประกอบการรายใหม่/หรือจำนวนผู้ประกอบการรายเดิมที่ได้รับการพัฒนา ไม่น้อยกว่า 10,000 ราย 2. ต้นทุนโลจิสติกส์ภาคอุตสาหกรรมลดลง ร้อยละ 2 3. ผู้ประกอบการที่ได้รับการพัฒนามาตรฐานสามารถลดการสูญเสียในกระบวนการผลิตได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 4. ผลิตภาพแรงงานอุตสาหกรรม (Labor Productivity) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2

  14. ยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมสถานประกอบการสู่อุตสาหกรรมสีเขียว เป้าประสงค์ ภาคอุตสาหกรรมมีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน โดยมีความรับผิดชอบต่อสังคมและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน กลยุทธ์ 1. ส่งเสริม/สนับสนุน สถานประกอบการให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม(CSR) 2. สนับสนุนการสร้างระบบตรวจสอบความปลอดภัยในอุตสาหกรรมสำคัญที่มีความเสี่ยง 3. ผลักดันการจัดตั้งพื้นที่ที่เหมาะสมกับประเภทอุตสาหกรรมและสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ 4. ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยี ที่เหมาะสม เพื่อการจัดการกากอุตสาหกรรม 5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ตัวชี้วัด 1. จำนวนสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์อุตสาหกรรม สีเขียว (Green Industry ) 7,500 ราย 2. เครือข่ายความร่วมมือในการเฝ้าระวังปัญหาสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยภาคอุตสาหกรรมได้รับการพัฒนาเพิ่มขึ้น (นับจากปีที่ผ่านมา) ร้อยละ 5 3. หน่วยงานมีองค์ประกอบ/ปัจจัยความสำเร็จของ การพัฒนากลไกกำกับดูแล ติดตามและตรวจสอบสิ่งแวดล้อม 5 องค์ประกอบ 4. จำนวนนิคมอุตสาหกรรมที่ได้รับการพัฒนา เป็นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์เพิ่มขึ้น 3 ราย

  15. ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาสมรรถนะองค์กรเพื่อสนองตอบความต้องการของผู้ประกอบการและประชาชน เป้าประสงค์ กระทรวงอุตสาหกรรมมีความสามารถในการให้บริการแก่ผู้ประกอบการและประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์การ การจัดการองค์ความรู้ ด้านการอุตสาหกรรม เพื่อยกระดับศักยภาพการปฏิบัติงาน 2. พัฒนาศักยภาพของบุคลากรในองค์กรให้สามารถพัฒนาผลักดันการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน และมีความพร้อมในการสู่ประชาคมอาเซียน 3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการบริหาร และการบริการที่มีประสิทธิภาพ 4. สร้างระบบบูรณาการการดำเนินงานกับพันธมิตรทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน 5. เพิ่มประสิทธิภาพและปรับปรุงโครงสร้างองค์กรการบริหารงานผ่านช่องทางบริการต่างๆ ตัวชี้วัด 1. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการของหน่วยงานในกระทรวงอุตสาหกรรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. บุคลากรสายงานหลักของกระทรวงอุตสาหกรรมตามแผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรกระทรวงอุตสาหกรรมได้รับ การพัฒนาการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ร้อยละ 80 3. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการใช้บริการข้อมูลเว็บท่ากระทรวงอุตสาหกรรม ร้อยละ 80

  16. งบประมาณ ปี 2556 ของ อก. จำแนกตามหน่วยงาน หน่วย : ล้านบาท

  17. โครงการเหมืองแร่โพแทชโครงการเหมืองแร่โพแทช • มาตรการส่งเสริมและพัฒนา SMEs • เกษตรกรชาวไร่อ้อยร้องขอให้พิจารณาตั้งโรงงานน้ำตาลแห่งใหม่ในจังหวัดสระแก้ว

  18. โครงการเหมืองแร่โพแทชโครงการเหมืองแร่โพแทช 1

  19. แร่โพแทชของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2516-2525 กระทรวงอุตสาหกรรมได้ดำเนินการเจาะสำรวจแร่โพแทชในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศจำนวน 194 หลุมเจาะ พบแร่โพแทช 2 ชนิด ดังนี้ 1. แร่ซิลไวท ์ 2. แร่คาร์นัลไลท์ 2

  20. แหล่งแร่โพแทชของประเทศไทยแหล่งแร่โพแทชของประเทศไทย พื้นที่ 17,000 ตร.กม. พื้นที่ 33,000 ตร.กม. ปริมาณสำรอง แร่ซิลไวท ์(KCl) ประมาณ 7,000 ล้านตัน แร่คาร์นัลไลท์ (KCl.MgCl2.6H2O) 400,000 ล้านตัน 3

  21. ประโยชน์ของแร่โพแทช • แร่โพแทชมีความสำคัญเป็นอย่างมากสำหรับอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี เนื่องจากธาตุโพแทชเซียม (K) เป็นธาตุที่เป็นส่วนประกอบหลักในปุ๋ยเคมี นอกจากนี้แร่โพแทชยังสามารถใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมต่อเนื่องได้เช่น อุตสาหกรรมแก้วกระจก อุตสาหกรรมฟอกย้อม อุตสาหกรรมยาอุตสาหกรรมสบู่ผงซักฟอก เป็นต้น 4

  22. ตารางเปรียบเทียบความต้องการใช้ปุ๋ยโพแทชและการผลิตแร่โพแทชของโลกตารางเปรียบเทียบความต้องการใช้ปุ๋ยโพแทชและการผลิตแร่โพแทชของโลก * กลุ่มประเทศอาเซียนมีความต้องการประมาณ 4 ล้านตันต่อปี และประเทศไทยมีความต้องการประมาณ 700,000 ตันต่อปี โดยต้องนำเข้ามาจากต่างประเทศทั้งหมด 5

  23. ปัจจุบันผู้ยื่นขอประทานบัตรมี 3 บริษัท ดังนี้ 1. บริษัท เอเชีย แปซิฟิค โปแตช คอร์ปอเรชั่น จำกัด 2. บริษัท เหมืองแร่โปแตชอาเซียน จำกัด (มหาชน) 3. บริษัท ไทยคาลิ จำกัด 6

  24. โครงการเหมืองแร่โพแทชบริษัทAPPCโครงการเหมืองแร่โพแทชบริษัทAPPC โครงการตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองและอำเภอประจักษ์ศิลปาคม จังหวัดอุดรธานี 7

  25. ข้อมูลทั่วไป • บริษัท APPC ได้ลงนามในสัญญากับกระทรวงอุตสาหกรรมเมื่อ 4 กันยายน 2527 • เจาะสำรวจจำนวน 169 หลุมเจาะ • ปริมาณสำรองแร่ชนิดซิลไวท์ประมาณ 300 ล้านตัน • ความสมบูรณ์ของแร่เฉลี่ย 35% KCl • บริษัท APPC ยื่นคำขอประทานบัตรเนื้อที่ 26,446 ไร่ กำลังการผลิต 2 ล้านตันต่อปี • ปัจจุบันอยู่ระหว่างดำเนินการขอประทานบัตร 8

  26. ปัญหาอุปสรรคของโครงการ (APPC) • ประชาชนจำนวนหนึ่งในพื้นที่โครงการคัดค้านการดำเนินโครงการของบริษัทในทุกขั้นตอนจึงทำให้การดำเนินการตามขั้นตอนการขอประทานบัตรเป็นไปด้วยความล่าช้า 9

  27. แนวทางการแก้ไขปัญหาโครงการแนวทางการแก้ไขปัญหาโครงการ • กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่มีนโยบายให้ผู้ประกอบการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) ถึงแม้ว่าจะไม่เข้าข่ายโครงการรุนแรงตามประกาศของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติแลสิ่งแวดล้อม • กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ร่วมกับจังหวัดอุดรธานี ลงพื้นที่ชี้แจงทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง • กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ได้แต่งตั้งคณะกรรมการศึกษา ติดตามกระบวนการขออนุญาตประทานบัตรโครงการเหมืองแร่โพแทชจังหวัดอุดรธานีโดยมีข้าราชการกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่และกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอุดรธานี เพื่อแก้ไขปัญหาประเด็นข้อร้องเรียนต่างๆ 10

  28. พม่า • N ลาว ไทย ชัยภูมิ บำเหน็จณรงค์ นครราชสีมา กรุงเทพ มาบตาพุด กัมพูชา อ่าวไทย ทะเลอันดามัน โครงการเหมืองแร่โพแทชบริษัท APMC โครงการตั้งอยู่ที่อำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ 11

  29. ข้อมูลทั่วไป • กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ได้สำรวจ โดยใช้มาตรา 6 ทวิ แห่ง พ.ร.บ. แร่ จำนวน 100 หลุมเจาะ • ปริมาณสำรองแร่ชนิดคาร์นัลไลท์ประมาณ 570 ล้านตัน • ความสมบูรณ์ของแร่ประมาณ 15% KCl • บริษัท APMC ยื่นคำขอประทานบัตรเนื้อที่ 9,708 ไร่ กำลังการผลิต 1.1 ล้านตันต่อปี • ปัจจุบันอยู่ระหว่างดำเนินการขอประทานบัตร 12

  30. พม่า ลาว ไทย ชัยภูมิ บำเหน็จณรงค์ นครราชสีมา กรุงเทพ มาบตาพุด กัมพูชา อ่าวไทย ทะเลอันดามัน โครงการเหมืองแร่โพแทชบริษัท ไทยคาลิ จำกัด • N โครงการตั้งอยู่ที่อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา 13

  31. ข้อมูลทั่วไป • ปี พ.ศ. 2553 ได้รับอาชญาบัตรพิเศษเนื้อที่ 40,000 ไร่ • บริษัท ไทยคาลิ จำกัด ยื่นคำขอประทานบัตรเนื้อที่ 9,200 ไร่กำลังการผลิต 100,000 ตันต่อปี • ปริมาณสำรองแร่ประมาณ 17 ล้านตัน • ปัจจุบันอยู่ระหว่างดำเนินการขอประทานบัตร 14

  32. ขอบคุณครับ 15

  33. มาตรการส่งเสริมและพัฒนา SMEs

  34. Supporting ตลาด Stand-alone ต่างประเทศ SMEs ผู้ผลิตชิ้นส่วน SMEs ผู้ผลิตสินค้า สำเร็จรูป วิสาหกิจ ตลาด ในประเทศ ขนาดใหญ่ ภาพรวมSMEsในโครงสร้างเศรษฐกิจไทย ข้อมูล SMEs ณ สิ้นปี 2554 มีจำนวนทั้งสิ้น 2,652,854 ราย SMEs ภาคการค้า SMEs ภาคบริการ

  35. หน่วยงานส่งเสริม SMEs ของกระทรวงอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่ง ประเทศไทย (SME BANK) สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED)

  36. ผลการดำเนินงาน หมายเหตุ : เฉพาะของ กสอ. และ สสว.

  37. ผลการดำเนินงาน (ต่อ) หมายเหตุ : เฉพาะของ กสอ. และ สสว.

  38. โครงการสร้างและพัฒนาบุคลากรโครงการสร้างและพัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) การเตรียมความพร้อมผู้ประกอบการ SMEs สู่ AEC วัตถุประสงค์ของโครงการ • เพื่อเตรียมความพร้อมและเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจ ให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม เพื่อรองรับการเข้าสู่ AEC ได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งในเชิงรับและเชิงรุก • เพื่อพัฒนา ยกระดับความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน ให้แก่บุคลากรหรือพนักงานภาคอุตสาหกรรมให้มีมาตรฐาน รองรับการเข้าสู่ AEC • เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศในสาขาอุตสาหกรรม ที่มีศักยภาพอันจะก่อให้เกิดการขยายโอกาสทางการค้า การลงทุน ให้แก่ธุรกิจอุตสาหกรรม

  39. โครงการสร้างและพัฒนาบุคลากรโครงการสร้างและพัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) งบประมาณปี 2556 : 180 ล้านบาท สร้างเครือข่ายธุรกิจ 10 เครือข่าย เตรียมความพร้อมผู้ประกอบการ 10,000 ราย พัฒนาแรงงานอุตสาหกรรม 5,000 ราย พัฒนาวิสาหกิจ 650 กิจการ พัฒนาผู้ประกอบการ 5,000 ราย

  40. ภาพกิจกรรมการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการ สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (25 – 28 ก.ค. 55)

  41. ภาพกิจกรรมการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการภาพกิจกรรมการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการ สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (25 – 28 ก.ค. 55)

  42. ภาพกิจกรรมการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (8 – 11 ส.ค. 55)

  43. ขอบพระคุณ

  44. เกษตรกรชาวไร่อ้อยร้องขอให้พิจารณาตั้งโรงงานน้ำตาลแห่งใหม่ในจังหวัดสระแก้วเกษตรกรชาวไร่อ้อยร้องขอให้พิจารณาตั้งโรงงานน้ำตาลแห่งใหม่ในจังหวัดสระแก้ว

  45. เกษตรกรชาวไร่อ้อยร้องขอให้พิจารณาตั้งโรงงานน้ำตาลแห่งใหม่ในจังหวัดสระแก้วเกษตรกรชาวไร่อ้อยร้องขอให้พิจารณาตั้งโรงงานน้ำตาลแห่งใหม่ในจังหวัดสระแก้ว • ปัจจุบัน จ.สระแก้ว มีโรงงานน้ำตาล 1 โรงงาน คือ • โรงงานน้ำตาลและอ้อยตะวันออก ตั้งอยู่ที่ อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว • - กำลังการผลิตที่ ครม. อนุมัติ 22,000 ตันอ้อย/วัน • - กำลังการผลิตตรวจวัดลูกหีบจริง 12,236 ตันอ้อย/วัน • ต่อมาได้รับอนุญาต (มติ ครม. 1 มี.ค. 54) ให้นำกำลังการผลิต 2,000 ตันอ้อย/วัน ไปตั้งใหม่ที่ อ.วังสมบูรณ์ จ.สระแก้ว และขยายกำลัง การผลิตเป็น 12,500 ตันอ้อย/วัน • (ขณะนี้ยังอยู่ระหว่างดำเนินการ) • ปี 2554/55 จ.สระแก้ว มีพื้นที่ปลูกอ้อย 253,764 ไร่ ผลิตอ้อยได้ประมาณ 2.72 ล้านตัน • แต่โรงงานน้ำตาลและอ้อยตะวันออกหีบอ้อยได้ 2.314 ล้านต้น • ชาวไร่อ้อยอ้อยบางส่วนต้องขนอ้อยไปหีบที่โรงงานในจังหวัดใกล้เคียง • (โรงงานน้ำตาลชลบุรี และโรงงานน้ำตาลสุรินทร์)

  46. การขออนุญาตตั้งโรงงานของบริษัท น้ำตาลนิวกว้างสุ้นหลี จำกัดที่ อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว • ครม. (16 ต.ค50) เห็นชอบให้บริษัทฯ ย้ายสถานที่ตั้งจาก อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี ไปที่ อ.ตาพระยา จ.สระแก้ว • และขยายกำลังการผลิตจาก 6,479 ตันอ้อย/วัน เป็น 20,400 ตันอ้อย/วัน • เนื่องจากกรมชลประทานไม่สามารถจัดสรรน้ำดิบจากอ่างห้วยยาง อ.ตาพระยา ให้ได้ แต่ยินดีจะพิจารณาจัดสรรน้ำจากอ่างเก็บน้ำ ห้วยปรง อ.วัฒนานคร บริษัทฯ จึงขอย้ายสถานที่ตั้งโรงงาน จาก อ.ตาพระยา ไปที่ อ.วัฒนานคร (ระยะห่างจากโรงงานน้ำตาลและอ้อยตะวันออก ประมาณ 23 กม.)

  47. โรงงานของบริษัท น้ำตาล นิวกว้างสุ้นหลี ที่ขอย้ายไปตั้งที่ อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว ห่างจากโรงงานเดิม คือ โรงงานน้ำตาลและอ้อยตะวันออก ประมาณ 23 กม. • โดยที่ระยะห่างไม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่กระทรวงอุตสาหกรรมกำหนด ให้ระยะห่างจากโรงงานที่ตั้งอยู่เดิมกับโรงงานที่จะตั้งใหม่ในเส้นทางใกล้ที่สุด ไม่น้อยกว่า 80 กม. • บริษัท น้ำตาลและอ้อยตะวันออก จึงคัดค้าน กรณีที่บริษัท น้ำตาล นิวกว้างสุ้นหลี ขอย้าย สถานที่ตั้งโรงงานดังกล่าว

  48. ด้วยความขอบคุณยิ่ง

More Related