350 likes | 681 Views
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ในประเทศไทย. ประเทศไทยในน้ำมีปลา ในนามีข้าว. ประเทศไทย ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว. พื้นที่การเลี้ยงสัตว์น้ำจืด และจำนวนฟาร์มในประเทศไทย. ภาคเหนือ พื้นที่การเลี้ยง 160,373 ไร่ 144,671 ฟาร์ม ภาคอีสาน พื้นที่การเลี้ยง 340,665 ไร่ 286,938 ฟาร์ม
E N D
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดในประเทศไทยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดในประเทศไทย
ประเทศไทยในน้ำมีปลา ในนามีข้าว ประเทศไทย ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว
พื้นที่การเลี้ยงสัตว์น้ำจืด และจำนวนฟาร์มในประเทศไทย • ภาคเหนือ พื้นที่การเลี้ยง 160,373 ไร่ 144,671 ฟาร์ม • ภาคอีสาน พื้นที่การเลี้ยง 340,665 ไร่ 286,938 ฟาร์ม • ภาคกลาง พื้นที่การเลี้ยง 465,143 ไร่ 74,130 ฟาร์ม • ภาคใต้ พื้นที่การเลี้ยง 66,380 ไร่ 44,892 ฟาร์ม • รวมพื้นที่ทั้งหมด 1,032,561 ไร่ 550,631 ฟาร์ม • (ที่มา:สถิติกรมประมง 2552)
พื้นที่การเลี้ยงสัตว์น้ำจืดในรูปแบบต่างๆพื้นที่การเลี้ยงสัตว์น้ำจืดในรูปแบบต่างๆ • พื้นที่ บ่อ จำนวน 945,735 ไร่ • พื้นที่ นา จำนวน 73,601 ไร่ • พื้นที่ ร่องสวน จำนวน 12,677 ไร่ • พื้นที่ กระชัง จำนวน 549 ไร่ • รวมพื้นที่ทั้งหมด 1,032,561 ไร่ • (ที่มา:สถิติกรมประมง 2552)
ผลผลิตการเลี้ยงสัตว์น้ำจืดผลผลิตการเลี้ยงสัตว์น้ำจืด - ปลานิล 221,042 ตัน/ปี - ปลาดุก 130,064 ตัน/ปี - ปลาตะเพียน 47,231 ตัน/ปี - ปลาสลิด 34,220 ตัน/ปี - ปลาสวาย 30,200 ตัน/ปี - กุ้งก้ามกราม 26,785 ตัน/ปี - สัตว์น้ำอื่นๆ 32,338 ตัน/ปี รวม 521,880 ตัน/ปี
ตลาดส่งออกปลาน้ำจืด ช่วงปี2545-2552 ไทยส่งออกเฉลี่ยปีละ 33,454 ตัน/ปี มูลค่า 1,421 ล้านบาท ที่มา : กลุ่มวิเคราะห์การค้าสินค้าประมงระหว่างประเทศ กรมประมง
ปลาน้ำจืดเศรษฐกิจส่งออกที่สำคัญของไทยปลานิล 11,326 ตัน/ปี ปลาดุก 3,125 ตัน/ปีปลาตะเพียน 793 ตัน/ปี ที่มา : กลุ่มวิเคราะห์การค้าสินค้าประมงระหว่างประเทศ กรมประมง
สัดส่วนการใช้ผลผลิตปลานิลในประเทศ และส่งออก
สถานการณ์ปลานิลและผลิตภัณฑ์ของประเทศไทย การตลาด การผลิต การแปรรูป 2 1 2 พื้นที่เลี้ยงที่มีผลผลิต 483,789 ไร่ :ปี2552 (284,791 ฟาร์ม :ปี2552) ผลผลิต 221,043 ตัน:ปี2552 -ปลาสด 0.12% -แช่แข็ง 81% -แล่เนื้อ 10% -ตากแห้ง 0.02% • บริโภคภายในประเทศ 94.27% (208,386 ตัน) :ปี 2552 • ส่งออกต่างประเทศ 5.73% (12,657 ตัน) :ปี 2552 ที่มา: ส่วนเศรษฐกิจ กรมประมง 1 ที่มา: กลุ่มวิเคราะห์การค้าสินค้าประมงระหว่างประเทศ กองประมงต่างประเทศ กรมประมง2
ราคาปากบ่อเฉลี่ย ราคาและผลผลิตแต่ละท้องถิ่นแตกต่างกัน ราคาจำหน่ายที่ฟาร์มเลี้ยงในบ่อดิน ราคา40-54บาท/กิโลกรัม ราคาจำหน่ายที่ฟาร์มเลี้ยงในกระชัง ราคา60-63บาท/กิโลกรัม ราคาปลานิลแล่เฉพาะเนื้อ 75-80บาท/กิโลกรัม
ต้นทุนการผลิต ต้นทุนการผลิตในบ่อดินในประเทศไทย ประมาณ 40บาท/กิโลกรัม ปลาขนาด 0.7-1 กก. ต้นทุนการผลิตในกระชังในประเทศไทย ประมาณ 52 บาท/กิโลกรัม ปลาขนาด 0.7-1 ที่มา : เกษตรกรโครงการยกระดับมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงปลานิลเพื่อการส่งออก ปี 2555
การดำเนินการ • กำหนดเขตเศรษฐกิจการผลิตปลานิลเชิงพาณิชย์ • จังหวัดชลบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดขอนแก่น • จังหวัดเชียงราย • จัดประชุมชี้แจงและกำหนดแนวทางการพัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจการผลิตปลานิลเชิงพาณิชย์ ตามแนวทางการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การดำเนินการ • 2. พัฒนาฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ของการผลิตปลานิล • รวบรวมข้อมูลเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูล (ขนาดฟาร์ม, พิกัด, ที่ตั้ง, บ่อเลี้ยง, กำลังการผลิตฯลฯ) จัดทำฐานข้อมูลและทำข้อมูลเชิงพื้นที่
การดำเนินการ • ยกระดับมาตรฐานการผลิตให้ได้มาตรฐาน • (ตามความต้องการของตลาดและเจ้าของฟาร์ม) • ให้คำแนะนำและช่วยเหลือในการ • ส่งเสริมฟาร์มให้เข้ามาตรฐานตามที่ • ต้องการ (ตลาด/ เจ้าของฟาร์ม) แต่ • อย่างน้อยให้ได้ระดับ Safety level (จด • ทะเบียนฟาร์ม + ไม่มีสารตกค้าง)
การดำเนินการ • 4.4 พิจารณาการบริหารจัดการการผลิตให้สอดคล้อง • กับความต้องการของตลาด • ศึกษาความต้องการของตลาดและจำนวน • ปริมาณแผนการผลิต (ขนาด, ปริมาณ, • ระยะเวลา ฯลฯ) • ศึกษาบริหารจัดการด้านการผลิตให้มีต้นทุนต่ำลง • เพื่อการแข่งขัน (ลูกพันธุ์, คุณภาพ, อาหาร, อื่นๆ)
การดำเนินการ • 4.4 พิจารณาการบริหารจัดการการผลิตให้ • สอดคล้องกับความต้องการของตลาด (ต่อ) • ศึกษาและกำหนดรูปแบบและแผนการ • กระจายสินค้า
การดำเนินการ 4.5 พัฒนาเครื่องมือการจัดการ supply chain ในอุตสาหกรรมการผลิตปลานิลเชิงพาณิชย์