1 / 42

สมรรถ ปัญญาประชุม ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 7.3 จังหวัดสกลนคร

SPRAYER. สมรรถ ปัญญาประชุม ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 7.3 จังหวัดสกลนคร. หลักการพ่นสารเคมีให้มีฤทธิ์ตกค้าง ( Indoor Residual Spray ). - การพ่นสารเคมีกำจัดแมลงที่มีฤทธิ์ตกค้างตามผนังบ้านเรือนหรือแหล่งเกาะพักของแมลง - สารเคมีที่ใช้ต้องมีฤทธิ์คงทนอยู่ได้หลายเดือน (3-6 เดือน)

Download Presentation

สมรรถ ปัญญาประชุม ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 7.3 จังหวัดสกลนคร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. SPRAYER สมรรถ ปัญญาประชุม ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 7.3 จังหวัดสกลนคร

  2. หลักการพ่นสารเคมีให้มีฤทธิ์ตกค้าง(Indoor Residual Spray) -การพ่นสารเคมีกำจัดแมลงที่มีฤทธิ์ตกค้างตามผนังบ้านเรือนหรือแหล่งเกาะพักของแมลง • - สารเคมีที่ใช้ต้องมีฤทธิ์คงทนอยู่ได้หลายเดือน • (3-6 เดือน) • - สารเคมีที่พ่นจะฆ่ายุงหรือแมลงที่มาเกาะสัมผัส • ภายใน 24 ชั่วโมง

  3. วัตถุประสงค์ • 1. เพื่อลดอายุขัยของยุงพาหะนำโรค • 2. เพื่อลดความชุกชุมของยุงพาหะที่เป็นEndophagic และEndophilic • 3. เพื่อลดการสัมผัสระหว่างคนกับยุงพาหะ

  4. ส่วนประกอบที่สำคัญของเครื่องพ่นชนิดอัดลมส่วนประกอบที่สำคัญของเครื่องพ่นชนิดอัดลม 1. ส่วนตัวถัง ตัวถัง ฝา ท่อส่งน้ำยา สายสะพาย 2. ส่วนเครื่องสูบ กระบอกสูบ ก้านสูบ 3. ส่วนส่งน้ำยา สายยาง เครื่องกรอง ส่วนปิด-เปิด น้ำยา ก้านพ่น และหัวพ่น

  5. ส่วนตัวถัง • ตัวถัง ,ฝา ,ท่อส่งน้ำยา,สายสะพาย ฝา ตัวถัง ท่อส่งน้ำยา สายสะพาย (S2)

  6. ส่วนเครื่องสูบ • 2. ส่วนเครื่องสูบ • - กระบอกสูบ • - ก้านสูบ ก้านสูบ กระบอกสูบ กระบอกสูบ ก้านสูบ

  7. ☞ สายยาง • ☞ เครื่องกรอง • ☞ ส่วนปิด-เปิดน้ำยา • ☞ ก้านพ่นและหัวพ่น ส่วนส่งน้ำยา

  8. หลักการทำงานของเครื่องพ่นอัดลมหลักการทำงานของเครื่องพ่นอัดลม ▶อัดอากาศโดยใช้ระบบการสูบลมลงในถังเคมี ทำให้เกิดแรงดันภายในถังเคมี ▶น้ำยาถูกปล่อยออกจากถังผ่านหัวพ่น ออกมาเป็นละอองน้ำ โดยมีวาล์วในส่วนปิด-เปิด เป็นตัวบังคับการไหลของน้ำยา

  9. คุณสมบัติที่เหมาะสมของเครื่องพ่นชนิดอัดลมคุณสมบัติที่เหมาะสมของเครื่องพ่นชนิดอัดลม • ◑ แข็งแรง ทนทาน ต่อการใช้งาน • ◑ ตัวถังทำด้วยวัสดุทนทาน ไม่เป็นสนิม ทนต่อการกัดกร่อนของสารเคมี • ◑ สามารถจัดหาอะไหล่ได้ง่าย • ◑ ตัวถังและกระบอกสูบสามารถทนแรงอัดได้ไม่น้อยกว่า100ปอนด์ต่อตารางนิ้ว

  10. การเตรียมชุมชน 1 ก่อนการพ่นเคมี ♡ ประสานงานกับชุมชน ผู้นำชุมชน ชี้แจง วัตถุประสงค์ ♡ ให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ กับประชาชนใน ชุมชนแจ้งแผนการปฏิบัติงานและกำหนดนัด หมายกับประชาชน

  11. 2. ระหว่างการพ่นเคมี • ♡แนะนำให้เจ้าของบ้านเก็บ เครื่องนอน ของ • ใช้ ให้ห่างจากฝาผนัง • ♡ปกปิดอาหาร และภาชนะใส่อาหารให้มิดชิด • ♡ นำเด็ก คนชรา คนป่วย สัตว์เลี้ยง มาพักนอก • บ้าน

  12. 3. หลังการพ่นเคมี • ♡แนะนำวิธีการทำความสะอาดคราบสารเคมีที่ • ตกค้างตามพื้น • ♡ แนะนำอย่าให้เช็ดสารเคมีที่พ่นออก • ♡กล่าวขอบคุณ

  13. 2. ขณะปฏิบัติงานพ่นเคมี กรณีสารเคมีเป็นลักษณะผงละลายน้ำ ◈นำสารเคมีผสมกับน้ำจำนวนน้อยๆ ◈ คนให้เข้ากัน ◈ เติมน้ำที่ละน้อย จนครบ 8 ลิตร ◈ รินน้ำยาที่คนเข้ากันดีแล้ว ลงในถังพ่น โดยผ่านตะแกรงกรอง

  14. การเตรียมเครื่องพ่นชนิดอัดลมก่อนการใช้งานการเตรียมเครื่องพ่นชนิดอัดลมก่อนการใช้งาน 1. ตรวจสอบอุปกรณ์ทุกส่วนของเครื่องให้อยู่ในตำแหน่งถูกต้อง 2. ตรวจสอบเครื่องพ่นให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน • ตรวจสอบรอยรั่ว ตามข้อต่อต่างๆของเครื่อง • ตรวจสอบไกปิด-เปิดน้ำยา ก้านพ่น หัวพ่น ว่าได้ มาตรฐานหรือไม่ (มุม 80. ขนาดแถบน้ำยากว้าง 75 ซม.) • ตรวจสอบอัตราการไหลของน้ำยา (760 CC/นาที )

  15. เทคนิคการพ่นเคมีฤทธิ์ตกค้างเพื่อควบคุมเทคนิคการพ่นเคมีฤทธิ์ตกค้างเพื่อควบคุม 1.การผสมสารเคมี และการบรรจุในเครื่องพ่น ☼ ตามที่กำหนด 2. การสูบลมเครื่องพ่น ☼ ความดัน 40-50 ปอนด์/ตารางนิ้ว ☼ สูบลม ~ 40-50 ครั้ง ☼ พ่น 3 นาทีแรก สูบเพิ่มอีก 25 ครั้ง ☼ หลังจากพ่นทุก 2 นาที สูบลมเพิ่ม 25 ครั้ง จนน้ำยาหมดถัง

  16. 3. การเขย่าเครื่องพ่น ก่อนทำการพ่น ต้องเขย่าเครื่องทุกครั้ง เพื่อให้ สารเคมีที่แขวนลอย กระจายตัวสม่ำเสมอ 4. ความเร็วในการพ่นเคมี ต้องครอบคลุมพื้นที่พ่น 19 ตารางเมตร/นาที 5. ระยะห่างระหว่างหัวพ่นกับพื้นผิวที่พ่น ประมาณ 1 ศอก หรือ 18 นิ้ว หรือ 45 ซม.

  17. 6. สิ่งที่ต้องทำการพ่น 6.1 สิ่งปลูกสร้างที่สงสัยเป็นแหล่งเกาะพักของยุงพาหะ @ อาคารบ้านเรือนที่เป็นที่พักอาศัย @ สิ่งปลูกสร้างอื่น ให้พ่นเฉพาะห้อง หรือบริเวณที่คนอาศัยนอนเท่านั้น @ กระท่อมที่พักอาศัยได้

  18. 6.2 พื้นผิวที่ทำการพ่น @ฝาด้านในทุกด้าน พ่นให้สูงที่สุด @ เสา ขื่อ แป @ ม่าน หรือฉากกั้นห้อง พ่นทั้ง 2 ด้าน @ ใต้ถุนบ้าน ที่พอจะเข้าไปพ่นได้ @ ชายคาบ้าน หากจำเป็นให้ต่อก้านพ่น @ เครื่องใช้ในบ้าน เช่น หีบ ลังไม้ เป็นต้น @ เครื่องเรือน เช่น เตียง แคร่นอน ตู้ โต๊ะ เก้าอี้ พ่นเฉพาะด้านล่าง กับด้านหลัง @ เครื่องประดับบ้าน เช่น กระจก กรอบรูป พ่น เฉพาะด้านหลัง

  19. 7. ลำดับการพ่น • 7.1 พ่นบนบ้าน หรือในบ้านก่อน โดยเริ่มจาก • ห้องนอน • 7.2 พ่นใต้ถุนบ้าน • 7.3 พ่นสิ่งที่แยกจากตัวบ้าน

  20. การแก้ไขปัญหาเบื้องต้นการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น 1. กรณีน้ำยาไหลน้อยเกินไป สาเหตุที่1 : หัวพ่นอุดตัน สังเกตจากละอองน้ำยาแผ่ ขยายเป็นมุมแคบ การแก้ไข :ถอดหัวพ่นล้างน้ำ แปรงเบาๆ ให้สะอาด สาเหตุที่2 : ตะแกรงกรองอุดตัน การแก้ไข : ถอดตะแกรงกรองทั้ง 2 ตอน ออกล้างน้ำ แปรงเบาๆ ให้สะอาด 2. ถังพ่นเคมี ฝาถัง ลิ้นระบายลมฝาแกนมือปิด-เปิดฝา สาเหตุที่1 : เกิดจากการใช้งานนาน การแก้ไข : บัดกรีตรงบริเวณชำรุด หรือเปลี่ยน ปะเก็นยางใหม่

  21. 2. กรณีมีการรั่วเกิดขึ้น 2.1 หัวพ่น ก้านพ่น ไกพ่น สายยาง และข้อต่อต่างๆ สาเหตุที่1 : ขันไม่แน่น หรือประเก็นหมดอายุ การแก้ไข :คลายเกลียวออกทำความสะอาด ขันใหม่ ให้แน่น - เปลี่ยนประเก็น หรือแหวนยางใหม่ สาเหตุที่2 : มีรอยทะลุ หรือข้อต่อชำรุด การแก้ไข : - ทำความสะอาดบริเวณรอยรั่ว เช็ดให้แห้ง ใช้เทปพันสายไฟพัน บริเวณรอยรั่วให้แน่น - ใช้ลวดรัดขอบบนและล่างของเทป - ซ่อมแซมโดยการบัดกรี

  22. 3. กรณีมีการชำรุดของลูกสูบ สาเหตุที่1 : การชำรุดของลิ้นระบายลมลูกสูบ เนื่องจากขันแน่น เกินไปทำให้เวลาสูบลมจะรู้สึกหนักแรง การแก้ไข :- คลายลิ้นระบายลมออกให้หมด - ตรวจดูสปริงว่ามีแรงดันมากไปหรือไม่ - ถ้ามากให้ตัดสปริงให้สั้นลง สาเหตุที่2 : การชำรุดของปลอกลิ้นระบายลมหลวม และหน้าลิ้น ไม่เรียบ ทำให้ลมรั่วออกมา การแก้ไข :- ขันปลอกลิ้นให้แน่นขึ้น โดยใช้มือ - ถ้าลิ้นไม่เรียบ ให้ฝนจนเรียบ หรือเปลี่ยนใหม่

  23. 4. กรณีมีการชำรุดของก้านสูบ สาเหตุที่1 : น๊อตบังคับก้านสูบให้ติดกับแกน หลุด การแก้ไข :ขันใหม่ให้แน่นพอดี สามารถขยับได้เล็กน้อย สาเหตุที่2 : ก้านหนังสูบกระด้าง ไม่ดันพอดีกับกระบอกสูบ การแก้ไข :- ใช้น้ำมันหล่อลื่นชนิดใส หรือน้ำมันเครื่องชโลม - เปลี่ยนใหม่ สาเหตุที่3 : หนังสูบฉีกขาด ไม่สามารถอัดลมได้ การแก้ไข :เปลี่ยนใหม่ (P7) ก่อนเปลี่ยน ให้แช่น้ำมัน 1 คืน สาเหตุที่4 : ประเก็นสูบรั่ว การแก้ไข :ถอดออก แล้วใส่ใหม่ ขันให้แน่น - เปลี่ยนใหม่ ขันให้แน่น

  24. การบำรุงรักษาเครื่องพ่นอัดลมการบำรุงรักษาเครื่องพ่นอัดลม 1. เทสารเคมีที่ค้างอยู่ในถังออกให้หมด 2. เติมน้ำสะอาดลงในถัง ประมาณครึ่งถัง ปิดฝาให้สนิท ยกถัง ขึ้นเขย่า เพื่อทำความสะอาด 3. สูบลมเข้าถัง พ่นน้ำออก เพื่อทำความสะอาดท่อพ่น ก้านพ่น และหัวพ่น 4. ปล่อยลมออกจากถัง เปิดฝาเทน้ำทิ้งให้หมด 5. ทำความสะอาดตะแกรงกรอง ก้านพ่น และ หัวพ่น 6. ล้างและเช็ดทำความสะอาดถังพ่น 7. เมื่อชิ้นส่วนทั้งหมดแห้ง ให้ชโลมชิ้นส่วนที่เป็นทองเหลืองด้วย น้ำมันเครื่องใส 8. ประกอบกลับให้เหมือนเดิม

  25. การเก็บรักษาเครื่องพ่นอัดลมการเก็บรักษาเครื่องพ่นอัดลม • 1. กรณีหลังใช้งานในแต่ละวัน • ☺ เก็บให้พ้นจากเด็ก สัตว์เลี้ยง • ☺ ปลอดภัยจากการถูกขโมย 2. กรณีหลังหมดรอบการพ่น ☺ หลังการล้างทำความสะอาดตามขั้นตอน ให้ถอดแยกส่วนส่งน้ำยา ออกจากตัวถัง ☺ แยกเก็บอุปกรณ์ต่างๆให้เรียบร้อย พร้อมใช้งาน

  26. สรุปสิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการทำ IRS 1.ชีวนิสัยของยุงพาหะ เกาะพักนอกบ้าน หรือในบ้าน บริเวณที่เกาะพัก 2. สารเคมีที่ใช้ รูปแบบ และประสิทธิภาพ 3. เครื่องพ่น ประสิทธิภาพในการใช้งาน 4. บุคลากรผู้ปฏิบัติงาน ความรู้ ความเข้าใจ เทคนิค ควบคุม ความชำนาญ ความรับผิดชอบ

  27. 5. การวางแผนการพ่น • 5.1 การเตรียมการพ่นเคมี • ♣ สำรวจทางภูมิศาสตร์ จัดทำแผนที่บ้าน • กระท่อม และข้อมูลประชากร • ♣ การเตรียมวัสดุอุปกรณ์และสารเคมี • 5.2 การจัดเตรียมงบประมาณ • 5.3 การเตรียมทีมปฏิบัติงาน • ♣ คัดเลือกพนักงานพ่นเคมีให้เหมาะสม • ♣ จัดทีมพ่นเคมีให้เหมาะสมกับปริมาณงาน • ♣ จัดอบรมทีมพ่นเคมีก่อนดำเนินการ • 5.4 การกำหนดระยะเวลาการพ่น รอบ 1 รอบ 2

  28. 7. ความครอบคลุมในการพ่น Total Coverage (พ่นทั่วทุกหลังคาเรือน) Complete Coverage (พ่นทั่วทุกพื้นผิว) Sufficient Coverage (พ่นได้ตามจุดที่กำหนด) Regular Coverage (พ่นสม่ำเสมอเป็นประจำ) • 8. การควบคุมกำกับติดตาม • ♠ การควบคุมกำกับขณะปฏิบัติงาน • ♠ การติดตามภายหลังปฏิบัติงาน 9. การประเมินผล ♠ วิเคราะห์จากผลการปฏิบัติงาน ♠ ข้อบกพร่องที่ต้องนำไปแก้ไข

  29. ขอบคุณครับ

More Related