1 / 104

บทบาท จพ.เภสัชกรรมกับการพัฒนา ระบบจัดการยาเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค

บทบาท จพ.เภสัชกรรมกับการพัฒนา ระบบจัดการยาเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค. วันที่ 17-21 พฤษภาคม พ.ศ. 25 53 ณ โรงแรมมาริไทม์ ปาร์ค แอนด์ สปา รีสอร์ท จังหวัดกระบี่. 1. ความปลอดภัยด้านยา ( Drug Safety ) - ความสำคัญของการจัดการยาเพื่อความปลอดภัยของ ผู้บริโภค - เป้าหมายของการทำ Drug Safety

luann
Download Presentation

บทบาท จพ.เภสัชกรรมกับการพัฒนา ระบบจัดการยาเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาท จพ.เภสัชกรรมกับการพัฒนา ระบบจัดการยาเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค วันที่ 17-21 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ณ โรงแรมมาริไทม์ ปาร์ค แอนด์ สปา รีสอร์ท จังหวัดกระบี่

  2. 1. ความปลอดภัยด้านยา ( Drug Safety ) - ความสำคัญของการจัดการยาเพื่อความปลอดภัยของ ผู้บริโภค - เป้าหมายของการทำ Drug Safety - การดำเนินการให้เกิดความปลอดภัย High Alert Medication - การดำเนินการเพื่อลดความคลาดเคลื่อนทางยา ฯลฯ

  3. 2. แนวทางความปลอดภัยด้านยาของ เจ้าพนักงานเภสัชกรรม - ช่วยส่งเสริมให้เกิด 5 R Right Patient RightDrug RightDose RightTime RightRoute - การให้คำแนะนำเบื้องต้นในการใช้ยาที่ถูกต้อง

  4. 1. ความปลอดภัยด้านยา ( Drug Safety ) - ความสำคัญของการจัดการยาเพื่อความปลอดภัยของ ผู้บริโภค - เป้าหมายของการทำ Drug Safety - การดำเนินการให้เกิดความปลอดภัย High Alert Medication - การดำเนินการเพื่อลดความคลาดเคลื่อนทางยา ฯลฯ

  5. เป้าหมายของ drug Safety การพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยด้านยาของผู้ป่วย โรงพยาบาลหนองคาย Available from: http://hospital.moph.go.th/nongkhai/doc/pharmacy.ppt 1. ลดความคลาดเคลื่อนทางยา 2. ป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นจากการใช้ยา 3. ลดอาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงจากการใช้ยา 4. ลดการเกิดการแพ้ยาซ้ำ 5. พัฒนาระบบการรวบรวมข้อมูลและจัดการกรณีเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา

  6. ตัวชี้วัดการพัฒนา การพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยด้านยาของผู้ป่วย โรงพยาบาลหนองคาย Available from: http://hospital.moph.go.th/nongkhai/doc/pharmacy.ppt 1. ระดับมาตรฐานความปลอดภัยด้านยาตามเกณฑ์กระทรวงสาธารณสุข 2. อัตราการเกิดความคลาดเคลื่อนทางยา 3. อัตราการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา 4. อัตราการเกิดการแพ้ยาซ้ำ 5. รายงานเหตุการณ์ที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต พิการ หรือ นอนโรงพยาบาลนานขึ้น ที่เป็นผลจากยา 6. จำนวนหน่วยงานที่รายงานและจำนวนรายงาน

  7. ตัวชี้วัดการพัฒนา การพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยด้านยาของผู้ป่วย โรงพยาบาลหนองคาย Available from: http://hospital.moph.go.th/nongkhai/doc/pharmacy.ppt 1. ระดับมาตรฐานความปลอดภัยด้านยาตามเกณฑ์กระทรวงสาธารณสุข 2. อัตราการเกิดความคลาดเคลื่อนทางยา 3. อัตราการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา 4. อัตราการเกิดการแพ้ยาซ้ำ 5. รายงานเหตุการณ์ที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต พิการ หรือ นอนโรงพยาบาลนานขึ้น ที่เป็นผลจากยา 6. จำนวนหน่วยงานที่รายงานและจำนวนรายงาน

  8. แนวทางการป้องกันการแพ้ยาซ้ำแนวทางการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ 1. แพทย์ จะต้องดูประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วย ก่อนสั่งจ่ายยา หากตั้งใจจะสั่งยาที่ผู้ป่วยมีประวัติการแพ้ ด้วยเหตุผลทางการรักษา ให้ระบุให้ชัดเจนในใบสั่งยา นโยบายความปลอดภัยด้านยาของโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช,Available from: http://www.mnst.go.th/dicpharmacy/INFORMATION/DAS/Drug%20system%20policy.ppt

  9. แนวทางการป้องกันการแพ้ยาซ้ำแนวทางการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ 2. พยาบาลจะต้องถามประวัติการแพ้ยา หรือดูประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยทุกรายก่อนการบริหารยาแก่ผู้ป่วย หากพบประวัติการแพ้ยารายใหม่ - กรณีผู้ป่วยนอกให้ส่งผู้ป่วยมาพบเภสัชกรทุกครั้งเพื่อเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์และเปลี่ยนปกเวชระเบียน - กรณีผู้ป่วยในให้พยาบาลโทรศัพท์แจ้งเภสัชกรประจำตึกไปสัมภาษณ์ประวัติแพ้ยาและเก็บข้อมูลให้ผู้ป่วย นโยบายความปลอดภัยด้านยาของโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช,Available from: http://www.mnst.go.th/dicpharmacy/INFORMATION/DAS/Drug%20system%20policy.ppt

  10. แนวทางการป้องกันการแพ้ยาซ้ำแนวทางการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ 3. เภสัชกร --> ก่อนจ่ายยาเภสัชกร จะถามประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยทุกราย - หากพบผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยาที่ยังไม่มีข้อมูลในคอมพิวเตอร์ เภสัชกรจะสัมภาษณ์และเก็บประวัติแพ้ยาในคอมพิวเตอร์ เพื่อเตือนไม่ให้สั่งยาที่แพ้ซ้ำ พร้อมแนะนำผู้ป่วยให้นำเวชระเบียนมาเปลี่ยนปกเวชระเบียนเป็นสีชมพู นโยบายความปลอดภัยด้านยาของโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช,Available from: http://www.mnst.go.th/dicpharmacy/INFORMATION/DAS/Drug%20system%20policy.ppt

  11. 1. ความปลอดภัยด้านยา ( Drug Safety ) - ความสำคัญของการจัดการยาเพื่อความปลอดภัยของ ผู้บริโภค - เป้าหมายของการทำ Drug Safety - การดำเนินการให้เกิดความปลอดภัย High Alert Medication - การดำเนินการเพื่อลดความคลาดเคลื่อนทางยา ฯลฯ

  12. ยาที่มีความเสี่ยงสูง High - Alert Drug

  13. คำจำกัดความ • ยาที่มีความเสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดอันตรายหรือ ผลเสียต่อผู้ป่วย หากมีความผิดพลาดในการใช้ยา

  14. Adrenergic agonists Bensodiazepines Chemotherapeutic agents Chloral hydrate Digoxin Heparin Insulin Intravenous calcium Intravenous magnesium Lidocaine Narcotics and Opiates Neuromuscular blocking agents Oral hypoglycemic agents Phosphate salts Potassium chloride Streptokinase Theophylline Warfarin ตัวอย่างยาที่มีความเสี่ยงสูง

  15. ชื่อ-สกุลผู้ป่วย…………………..…………………….ชื่อ-สกุลผู้ป่วย…………………..……………………. HN……………………………AN………………..…… ROOM……………………………………......………… โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ Saint Louis Hospital 215 ถนนสาทรใต้ เขตสาทร กรุงเทพฯ โทร 026755000 บันทึกการเฝ้าระวังการใช้ HIGH ALERT DRUG ทบทวนระบบการเฝ้าระวัง High Alert Drug

  16. High alert drug card DOPAMINE รูปแบบยา DOPAMINE 250 mg /10 ml , 50 mg /5 ml ข้อบ่งใช้ใช้เพิ่มความดันโลหิตในผู้ป่วยที่ระบบไหลเวียนโลหิตไม่คงที่ เช่น septic shock หรือหัวใจวาย วิธีใช้ ต้องเจือจางยาก่อนใช้ โดยใช้ D5W, D5S/2, D5S, NSS หรือ LR ให้ได้ความเข้มข้นอย่างต่ำ 800 mcg (0.8 mg) ต่อ ml น้ำยาที่เจือจางแล้วต้องใช้ ให้หมดภายใน 24 ชั่วโมง ห้ามผสมร่วมกับ sodium bicarbonate อาการข้างเคียง หัวใจเต้นเร็ว และข้อควรระวัง หัวใจเต้นผิดจังหวะ เนื้อตายเป็นแผล หากเกิดการ รั่วของยาออกนอกเส้นเลือด การติดตาม BP, HR หลังเริ่มยา หรือปรับขนาดยาทุก 15-30 นาทีจนกระทั่งได้ผลหลังจากนั้นติดตามทุก 1-2 ชั่วโมง URINE OUTPUT ทุก 1-2 ชั่วโมง EKG MONITOR กรณีให้ยาขนาดความเข้มข้นสูง บทบาทของพยาบาล ติดตาม BP, HR, URINE OUTPUT ตรวจสอบอัตราการไหลให้เป็นไปตามแผนการรักษาอย่างน้อยทุก 1 ชั่วโมง ควรใช้เครื่องควบคุมอัตราไหล(Infusion pump)ทุกครั้ง ดูแลไม่ให้เกิดการรั่วของยาออกนอกเส้นเลือด

  17. สติ๊กเกอร์สะกิดใจ ปลอดภัยผู้รับ จัดทำโดย นาย ชัยวัฒน์ รุ่งจำรัส ตำแหน่ง เจ้าพนักงานเภสัชกรรม งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยในกลุ่มงานเภสัชกรรม

  18. เนื่องจากปัจจุบันยาเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการรักษาผู้ป่วย การใช้ยาฉีดเป็นวิธีหนึ่งในการรักษาผู้ป่วย งานบริการเภสัชกรรมผู้ป่วยในกลุ่มงานเภสัชกรรม ได้จัดทำสติ๊กเกอร์และวิธีการบริหารยาฉีดขึ้นเพื่อที่จะได้นำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานและทำให้เกิดความปลอดภัยในการฉีดยาให้กับผู้ป่วย ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัยจากการใช้ยาต่อไป หลักการและเหตุผล

  19. วัตถุประสงค์ - เพื่อพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยามากขึ้น - เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย

  20. เป้าหมาย - เจ้าหน้าที่ประจำหอผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการ บริหารยาที่ถูกต้อง - ผู้ป่วยได้รับการบริหารยาที่ถูกต้องและปลอดภัย

  21. ประโยชน์ที่ได้รับ - ผู้ป่วยได้รับการบริหารยาฉีดอย่างถูกต้องและปลอดภัย - บุคลากรภายในองค์กร มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ บริหารยาฉีดมากขึ้น

  22. ขั้นตอนการดำเนินการ ประชุมหาแนวทางแก้ไข จัดกลุ่มยาที่จะต้องทำการติดสติ๊กเกอร์ จัดทำสติ๊กเกอร์ติดที่ หลอดยา เพื่อให้เจ้าหน้าที่ห้องยาและเจ้าหน้าที่ประจำหอผู้ป่วยทราบ จัดแยกตู้ยาแบ่งตามกลุ่มที่ติดสติ๊กเกอร์ • จัดทำแบบสอบถามเจ้าหน้าที่ห้องยาและเจ้าหน้าที่ประจำหอผู้ป่วยก่อนและหลังการให้ข้อมูลแนะนำ จัดทำแผ่นป้ายแนะนำวิธีการใช้ยา และข้อควรระวัง ประเมินและสรุปผล

  23. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เจ้าหน้าที่ห้องยาและเจ้าหน้าที่ประจำหอผู้ป่วยมีความรู้ในการ ใช้ยาที่ถูกต้อง เจ้าหน้าที่ประจำหอผู้ป่วยที่ทราบวิธีการบริหารยาฉีดจาก ร้อยละ90 เจ้าหน้าที่มีความรอบครอบและระมัดระวังในการใช้ยาเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยได้รับยาฉีดอย่างถูกต้องและปลอดภัย

  24. ยาใดต่อไปนี้ห้าม IV push • Vancomycin (vancocin, edicin) • Potassium chloride (KCl) • Dopamine () • Gentamicin (genta) • Fluimucil (IV) • Quinine (IV)

  25. ระยะเวลาการดำเนินการ เดือน ธันวาคม 2551 – เมษายน 2552

  26. ก่อนทำการติดสติ๊กเกอร์/แยกตู้ก่อนทำการติดสติ๊กเกอร์/แยกตู้

  27. ตัวอย่างการติดสติ๊กเกอร์ตัวอย่างการติดสติ๊กเกอร์

  28. ตู้ยาห้ามIV Push/กลุ่มเสี่ยง

  29. ตู้ยาห้าม IV Push

  30. ตู้ยากลุ่มเสี่ยง

  31. ตารางแบบทดสอบการบริหารยาฉีดก่อนดำเนินการจากผู้กรอกแบบทดสอบ 170 ราย ก่อนให้ความรู้ตอบถูกร้อยละ 66.2 และไม่ทราบร้อยละ 8.77 หลังให้ความรู้ตอบถูกร้อยละ 98.33 และไม่ทราบร้อยละ 0.83 รายการยาที่ไม่แนะนำให้ IV Push 12 รายการ

  32. ตารางแบบทดสอบการบริหารยาฉีดก่อนดำเนินการจากผู้กรอกแบบทดสอบ 170 ราย ก่อนให้ความรู้ตอบถูกร้อยละ 45.51 และไม่ทราบร้อยละ 5.73 หลังให้ความรู้ตอบถูกร้อยละ 69.83 และไม่ทราบร้อยละ 0.14 รายการยาทีเป็นยากลุ่มเสี่ยง 8รายการ

  33. ผลการดำเนินการ เจ้าหน้าที่ห้องยาและเจ้าหน้าที่ประจำหอผู้ป่วยมีความรู้ในการใช้ยาที่ถูกต้องพบเจ้าหน้าที่ประจำหอผู้ป่วยไม่ทราบวิธีการบริหารยาฉีดก่อนได้รับข้อมูลเฉลี่ยร้อยละ 7.23หลังได้รับทราบข้อมูลลดลงเป็นร้อยละ 0.42 พบเจ้าหน้าที่ประจำหอผู้ป่วยที่ทราบวิธีการบริหารยาฉีดก่อนได้รับข้อมูลเฉลี่ยร้อยละ 62.87หลังได้รับทราบข้อมูลเพิ่มร้อยละ 89.04

  34. ปัญหาและอุปสรรค - สติ๊กเกอร์ที่ใช้ติดหลุดลอกจากหลอดยา - จำนวนยาที่ต้องติดสติ๊กเกอร์มีปริมาณมาก - การจัดซื้อสติ๊กเกอร์ใช้ระยะเวลานาน

  35. 1. ความปลอดภัยด้านยา ( Drug Safety ) - ความสำคัญของการจัดการยาเพื่อความปลอดภัยของ ผู้บริโภค - เป้าหมายของการทำ Drug Safety - การดำเนินการให้เกิดความปลอดภัย High Alert Medication - การดำเนินการเพื่อลดความคลาดเคลื่อนทางยา ฯลฯ

  36. Medication error ความคลาดเคลื่อนทางยา

  37. ความคลาดเคลื่อนทางยา ( Medication error) • เหตุการณ์ใดๆที่สามารถป้องกันได้ ที่อาจเป็นสาเหตุหรือนำไปสู่การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม หรือเป็นอันตรายแก่ผู้ป่วย http://drug.pharmacy.psu.ac.th/wbfile/259254510362.doc

  38. ความคลาดเคลื่อนทางยา ( Medication error) เหตุการณ์ดังกล่าวอาจจะเกี่ยวกับการปฏิบัติของ ผู้ประกอบวิชาชีพ ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และระบบ อันได้แก่ การสั่งใช้ การสื่อสารคำสั่ง การเขียนฉลาก/บรรจุ/ตั้งชื่อผลิตภัณฑ์ การผสม การจ่าย การกระจาย การให้ยา (หรือการบริหารยา) การให้ข้อมูล การติดตาม และการใช้” http://drug.pharmacy.psu.ac.th/wbfile/259254510362.doc

  39. ประเภทของความคลาดเคลื่อนทางยาประเภทของความคลาดเคลื่อนทางยา

  40. ประเภทของความคลาดเคลื่อนทางยาประเภทของความคลาดเคลื่อนทางยา

  41. ประเภทของความคลาดเคลื่อนทางยาประเภทของความคลาดเคลื่อนทางยา

  42. กรณีศึกษา • หญิงไทยคู่อายุ 80 ปี มาโรงพยาบาลด้วยอาการฉี่แสบขัด มีไข้ หนาวสั่น • เนื่องจากมาโรงพยาบาลหลายครั้ง แพทย์กังวล เกี่ยวกับการดื้อยา (piperacillin/tazobactam, ertapenem (invanz), augmentin (amoxycillin/clavulanic, dicloxacillin)) • จึงให้ piperacillin/tazobactam (tazocin) • หลังรักษาได้สามวันมีผลการเพาะเชื้อดังนี้

  43. Amikin เชื้อไวต่อยา • Gentamicin เชื้อไวต่อยา • Ceftriaxone (Cef-3) เชื้อไวต่อยา • -Norfloxacin ดื้อยา • Bactrim ดื้อยา ท่านจะเลือกยาใด ???

  44. เหตุการณ์ต่อมา... • หลังได้ยาเพียง 20 นาที ผู้ป่วยความดันโลหิตตก แพทย์วินิจฉัยผู้ป่วยมีภาวะช็อค • แพทย์ให้การฉีด adrenaline, CPM • ย้อนประวัติการรักษา ผู้ป่วยเคยภาวะช๊อก จากการได้รับ ceftriaxone มี 2549

  45. ท่านคิดว่าเหตุการณ์ดังกล่าว เป็น medication error หรือไม่ ถ้าเป็นท่านคิดว่าเหตุการณ์ดังกล่าว จัดอยู่ในระดับอะไร

  46. ประเภทของความคลาดเคลื่อนทางยาประเภทของความคลาดเคลื่อนทางยา

  47. ความคลาดเคลื่อนทางยาเกิดขึ้นความคลาดเคลื่อนทางยาเกิดขึ้น ในขั้นตอนใดได้บ้าง

  48. ความคลาดเคลื่อนทางยาอาจแบ่งออกเป็นความคลาดเคลื่อนทางยาอาจแบ่งออกเป็น • ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (Prescribingerror ) • คัดลอกคำสั่งใช้ยา (Transcribing error) • ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา(Dispensing error) • ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา (Administration error) กรัณรัตน์ และคณะ, Veridian E – Journal , Silpakorn University ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (สิงหาคม 2552)

  49. ประโยชน์: ลดความคลาดเคลื่อนทางยา • การที่ผู้ป่วยไม่ได้รับยาที่เคยใช้อยู่อย่างต่อเนื่อง • การที่ไม่ได้หยุดยาบางตัวก่อนเข้ารับการทำหัตถการบางอย่าง • การที่ผู้ป่วยไม่ได้รับยาที่เคยใช้อยู่หลังจากหยุดใช้ยาชั่วคราว • ผู้ป่วยได้รับยาซ้ำซ้อนเพราะไม่ทราบว่าแพทย์สั่งเปลี่ยนยาแล้ว • การได้รับยาซ้ำซ้อนกับยาที่ผู้ป่วยซื้อกินเอง • การลอกหรือรับคำสั่งผิดพลาด

  50. ประเภทของความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยาประเภทของความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา 1. การสั่งใช้ยาที่ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ 2. การสั่งใช้ยาในขนาดมากเกินไป หรือขนาดน้อยเกินไป 3. การสั่งใช้ยาในรูปแบบที่ไม่เหมาะสม 4. การสั่งใช้ยาที่มีปฏิกิริยากับยาอื่นที่ผู้ป่วยใช้อยู่ก่อน 5. การสั่งใช้ยาซ้ำซ้อน 6. การสั่งใช้ยาที่มีวิถีทางให้ยาที่ไม่เหมาะสม กรัณรัตน์ และคณะ, Veridian E – Journal , Silpakorn University ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (สิงหาคม 2552)

More Related