1 / 11

รูปแบบการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดหนองบัวลำภู

รูปแบบการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดหนองบัวลำภู องค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู. นายแพทย์ศราวุธ สันตินันตรักษ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู. ความสำคัญ. หน่วยบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินที่ได้มาตรฐานยังมีไม่เพียงพอ การนำส่งกลุ่มญาติ

louisa
Download Presentation

รูปแบบการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดหนองบัวลำภู

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รูปแบบการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดหนองบัวลำภูรูปแบบการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดหนองบัวลำภู องค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู นายแพทย์ศราวุธ สันตินันตรักษ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู

  2. ความสำคัญ • หน่วยบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินที่ได้มาตรฐานยังมีไม่เพียงพอ การนำส่งกลุ่มญาติ • การเจ็บป่วยยังมีอัตราสูง หากมีภาวะฉุกเฉินเกิดขึ้น • พื้นที่ที่รับผิดชอบอย่างใกล้ชิดมีความสำคัญในการช่วยเหลือเบื้องต้นมากที่สุด วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพเครือข่ายหน่วยบริการฉุกเฉิน(EMS) เพื่อให้มีเครือข่ายเพิ่มขึ้นและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการอย่างทั่วถึง

  3. พระบรมราโชวาทพระราชทานพระตำหนัก จิตรดารโหฐาน วันที่ 21 มีนาคม 2522 “…การบรรเทาความเดือดร้อนนั้น มีความ สำคัญมาก แม้จะเป็นเพียงบรรเทาไม่ใช่ขจัดโดยสิ้นเชิง แต่สำคัญมากที่ผู้ประสบภัยธรรมชาติ ย่อมมีความรู้สึก มีกำลังใจในการต่อสู้ชีวิต ถ้าหากได้รับ การช่วยเหลือด้วยไมตรีจากผู้อื่น ที่ไม่ประสบภัย...”

  4. จังหวัดหนองบัวลำภู • สถาปนาเป็นจังหวัด 1 ธันวาคม 2536 (16 ปี) • ประชากร ประมาณ 500,000 คน • พื้นที่ ติดกับจังหวัดเลย ขอนแก่น อุดรธานี • แบ่งเป็น 6 อำเภอ • ภูมิศาสตร์ ภูเขา ทะเลสาบเขื่อนอุบลรัตน์ หนองน้ำสาธารณะ หนองน้ำตามธรรมชาติ • ประเพณีวัฒนธรรม ฮีตสิบสอง ชาวอีสานทั่วไป

  5. การช่วยเหลือ/เป้าหมายการช่วยเหลือการช่วยเหลือ/เป้าหมายการช่วยเหลือ • ผู้ประสบเหตุทางบก • ผู้ประสบเหตุทางน้ำ • ผู้ประสบภัยทางอากาศ • บาดเจ็บน้อยที่สุด • เสียชีวิตน้อยที่สุด

  6. ขั้นตอนการดำเนินงานรูปแบบการพัฒนาศักยภาพการบริการทางการแพทย์ อบจ.หนองบัวลำภู 1.ขั้นวางแผนงาน -การรับสมัครและคัดเลือกพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย อำเภอละ 1 แห่ง เพื่อเป็นเครือข่าย โดยมีเครือข่ายร่วม -การคัดเลือกบุคลากรเพื่อเข้าฝึกอบรมพนักงานเวชกรฉุกเฉินเบื้อต้นโดยเครือข่ายเป็นผู้เลือกสรรในพื้นที -การทำข้อตกลงระหว่างภาคีเครือข่าย (อบจ./อปท.เครือข่าย/สถ.) 2.ขั้นเตรียมการ -จัดฝึกอบรมพนักงานเวชกรฉุกเฉิน(BMTB) 110 ชั่วโมง 18 วันจำนวน คน -จัดฝึกอบรมหลักสูตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพ สำหรับพนักงานขับรถยนย์บริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน 3 วัน -จัดฝึกอบรมวิทยุ -จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการบูรณาการ 3.ขั้นดำเนินการปฏิบัติงานในพื้นที่ -ส่งตัวพนักงานเวชกรฉุกเฉินปฏิบัติงานประจำในพื้นที่ทั้ง 6 จุด (6 อำเภอ) 4.ขั้นติดตามประเมินผล -เยี่ยมติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานเครือข่ายทั้ง 6 จุด 5.แผนการขยายเครือข่ายในปีงบประมาต่อไป

  7. 1.ขั้นวางแผนงาน 1.การรับสมัครและคัดเลือกพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย อำเภอละ 1 แห่ง เพื่อเป็นเครือข่าย โดยมีเครือข่ายร่วม 2.การคัดเลือกบุคลากรเพื่อเข้าฝึกอบรมพนักงานเวชกรฉุกเฉินเบื้อต้นโดยเครือข่ายเป็นผู้เลือกสรรในพื้นที 3.การทำข้อตกลงระหว่างภาคีเครือข่าย (อบจ./อปท.เครือข่าย/สถ.)

  8. 2.ขั้นเตรียมการ 1.จัดฝึกอบรมพนักงานเวชกรฉุกเฉิน(BMTB) 110 ชั่วโมง 18 วัน 2.จัดฝึกอบรมหลักสูตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพ สำหรับพนักงานขับรถยนต์บริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน เวลา 3 วัน 3.จัดฝึกอบรมการใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ เวลา 1 วัน 4.จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหน่วยบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินในรูปแบบบริการเครือข่ายร่วม เวลา1วัน

  9. 3.ขั้นดำเนินการปฏิบัติงานในพื้นที่3.ขั้นดำเนินการปฏิบัติงานในพื้นที่ ส่งตัวพนักงานเวชกรฉุกเฉินปฏิบัติงานประจำในพื้นที่ทั้ง 6 จุด (6 อำเภอ) ให้บริการตามเครือข่ายพื้นที่

  10. 4.ขั้นติดตามประเมินผล เยี่ยมติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานเครือข่ายทั้ง 6 จุด

  11. แผนการขยายเครือข่ายในปีงบประมาณต่อไปแผนการขยายเครือข่ายในปีงบประมาณต่อไป

More Related