1 / 27

การจัดการ ความรู้ เรื่องยาเสพติด

การจัดการ ความรู้ เรื่องยาเสพติด. องค์ความรู้ที่ได้จากแนวปฏิบัติ (Explicit Knowledge). รูปแบบการบำบัดรักษาผู้ติดยา การบำบัดแบบการแพทย์แผนปัจจุบัน การบำบัดแบบการแพทย์แผนโบราณ การบำบัดรักษาโดยวิธีอื่นๆ เช่น การหักดิบ การบำบัดโดยใช้เครื่องกระตุ้นไฟฟ้า.

Download Presentation

การจัดการ ความรู้ เรื่องยาเสพติด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการความรู้เรื่องยาเสพติดการจัดการความรู้เรื่องยาเสพติด

  2. องค์ความรู้ที่ได้จากแนวปฏิบัติ(Explicit Knowledge) • รูปแบบการบำบัดรักษาผู้ติดยา • การบำบัดแบบการแพทย์แผนปัจจุบัน • การบำบัดแบบการแพทย์แผนโบราณ • การบำบัดรักษาโดยวิธีอื่นๆ เช่นการหักดิบ การบำบัดโดยใช้เครื่องกระตุ้นไฟฟ้า

  3. •  การบำบัดแบบการแพทย์แผนปัจจุบัน โดยการประยุกต์ใช้ Matrix Program ให้หัดทำแล้วเอาไปต่อยอดที่บ้าน ปรับขั้นตอนกระบวนการ matrix ให้นำไปใช้ง่าย กำหนดการรับยาในชุมชนเอง มีประธาน กรรมการภายในกลุ่ม หรือให้อสม.จ่ายยาแทน องค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Tacit Knowledge)

  4. การบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดมีกระบวนการบำบัดอยู่ 3 ระบบคือ ระบบสมัครใจ ระบบบังคับ ระบบต้องโทษ องค์ความรู้ที่ได้จากแนวปฏิบัติ (Explicit Knowledge)

  5. องค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Tacit Knowledge) • การรักษาแบบบังคับบำบัด ลงทะเบียน ทำประวัติ สนทนาพูดคุย ทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ เลี้ยงข้าวกลางวัน นัดทุกสัปดาห์ นาน 3-4 เดือน เมื่อครบ 1 ปี จะนัดห่างขึ้นและออกเยี่ยมบ้าน กรณีมาตรวจปัสสาวะแล้วถูกจับ เจ้าหน้าที่ช่วยประสนกับทางเจ้าหน้าที่ตำรวจ ช่วยหาอาชีพให้กับผู้รับการบำบัด เมื่อตรวจผลปัสสาวะมีผลบวก “อาจจะบอกว่าไม่เป็นไร แต่ต้องไม่บ่อยมากเกินไป แสดงความเห็นใจ ” • การรักษาบำบัดแบบสมัครใจ เปิดตัวโดยไม่จับกุม มีการเซ็นแบบบันทึกการเลิกยาเสพติดยื่นต่อ ศตส.อำเภอ ทราบ

  6. หนังสือสัญญาและข้อตกลง ในการบำบัดโดยความสมัครใจ

  7. ขั้นตอนการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดขั้นตอนการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด ขั้นเตรียมการก่อนบำบัดรักษา ขั้นตอนการรักษา ขั้นตอนการฟื้นฟูสมรรถภาพ ขั้นตอนติดตามผล องค์ความรู้ที่ได้จากแนวปฏิบัติ (Explicit Knowledge)

  8. กำหนดลักษณะร่วมกันของวิธีการบำบัดฟื้นฟู คือ ให้เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ เข้ากันได้กับพื้นที่ เป็นไปได้ที่จะทำงานมีผลสัมฤทธิ์ จัดการได้ โดยการ มีล่ามมาช่วยทำงาน เข้าไปเป็นพวกเดียวกับผู้เสพให้ได้โดยไม่ถูกดูดกลืน ให้ความมั่นใจในเรื่องกฎหมาย พิจารณาการใช้คำละเอียดอ่อนที่ควรใส่ใจ เช่น “ห้ามพูดคำว่าไม่ ต้องรับฟังตลอด ”“คำว่า ขี้ยา ห้ามพูด ใช้คำว่า หมู่เฮาแทน” นอกเหนือจากผู้ป่วยเสพแล้ว ต้องคำนึงถึงครอบครัว องค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Tacit Knowledge) ขั้นเตรียมการก่อนบำบัดรักษา

  9. ประชุมและวางแผนในการทำงานประชุมและวางแผนในการทำงาน มีผู้สมัครใจ ครั้งแรก 17 คน ที่เปิดเผยตัว

  10. องค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Tacit Knowledge) • ขั้นตอนการรักษา • ทำตามขั้นตอนมาตรฐาน หลังจากนั้น ใช้กลุ่มบำบัดเข้าช่วย • ให้แนวคิดมากกว่าจะสอนกันตรง ๆ • อาจใช้มาตรการเชิงลบบ้าง เช่น “พูดเป็นเชิงขู่ว่า หากเสพซ้ำ จะถูกส่งไปรักษาที่ศูนย์บำบัด เชียงใหม่” • การเยี่ยมบ้านทำร่วมกับเครือข่าย • เจ้าหน้าที่ต้องหาข้อมูลเพิ่มเติม ว่า ทำอย่างไรเมื่อเสพยาแล้วมาตรวจปัสสาวะจึงไม่พบสารเสพติด

  11. องค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Tacit Knowledge) • ขั้นตอนการรักษา

  12. จ่ายยาบำบัด – พร้อมกับตรวจปัสสาวะทุก วันพุธและวันอาทิตย์

  13. จ่ายยาบำบัดสำหรับผู้ที่มีความต้องการยาเวลากลางคืนจ่ายยาบำบัดสำหรับผู้ที่มีความต้องการยาเวลากลางคืน

  14. องค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Tacit Knowledge) • ขั้นตอนการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปลัดอำเภอรับมอบอุปกรณ์การเสพ คืนจากผู้สมัครใจบำบัด กรรมการหมู่บ้าน สุ่มตรวจหาสารเสพติด ท่านอำเภอเมืองเชียงรายประกาศหมู่บ้านปลอดยาเสพติด

  15. องค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Tacit Knowledge) • ขั้นตอนติดตามผล ผลการเรียกตรวจหาสารเสพติด

  16. การตรวจหาสารเสพติด โดยกรรมการหมู่บ้านและจนท.สาธารณสุข

  17. องค์ความรู้ที่ได้จากแนวปฏิบัติ (Explicit Knowledge) • การบำบัดรักษาทางด้านจิตใจ มี 4 วิธี คือ • วิธีจิตบำบัดการให้คำปรึกษาเป็นการรายบุคคลการให้คำปรึกษาเป็นกลุ่ม • การให้คำปรึกษาแก่ครอบครัว • วิธีบำบัดยาเสพติดโดยใช้ศาสนา • วิธีการบำบัดรักษาแบบชุมชนบำบัด • การบำบัดแบบชีวบำบัด • การบำบัดรักษาทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจโดยการเข้าค่ายชีวบำบัด

  18. ใช้ประโยชน์จากครอบครัวและชุมชน ให้ครอบครัวคุยกัน แล้วมาสรุปกันว่าจะเอารูปแบบใด มีหน่วยงานที่ทำงานร่วมกัน เช่น อบต. ป่าไม้ ประชาสงเคราะห์ เน้นข้อมูลเป็นความลับ ตำรวจพูดเรื่องกฎหมาย ครูเน้นเด็กไปบอกกับพ่อแม่ กลางคืนมีอาสาสมัครเดินดูตามบ้าน เรียกผู้บำบัดมาทุก 15 วันที่อนามัย กลางวันเลี้ยงข้าว 1 มื้อ ไกล ๆ เอารถไปรับ ไม่เอาตำรวจมาถ้าไม่จำเป็น -แก้ไขเป็นรายเรื่องและรายกรณี องค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Tacit Knowledge)

  19. การทำงานเป็นทีม ( ร่วมด้วยช่วยกัน ) • เน้นทุกหน่วยงานในพื้นที่ + ( ประชาชนทุกคนมีส่วนร่วม ) • เจ้าหน้าที่ตำรวจ • อบต. • ปกครอง • สาธารณสุข • องค์กรเอกชน • กรรมการหมู่บ้าน

  20. การมีส่วนร่วมของกรรมการหมู่บ้าน ในการทำอาคารที่ตัดผม

  21. มอบอุปกรณ์ในการประกอบอาชีพมอบอุปกรณ์ในการประกอบอาชีพ

  22. สนับสนุนโดย อบต. , ที่ว่าการอำเภอ ,งานยาเสพติด สสจ.เชียงราย

  23. ด้านการป้องกันและการมีส่วนร่วมในการทำงานด้านการป้องกันและการมีส่วนร่วมในการทำงาน

  24. สรุปผล และปรึกษาหารือร่วมกันแก้ปัญหา ทุกภาคีเครือข่าย

  25. ส่งเสริมกีฬา ให้เยาวชนห่างไกลยาเสพติด

  26. ผลสำเร็จของการบำบัดในครั้งนี้ที่สามารถนำเสนอได้อย่างภาคภูมิใจผลสำเร็จของการบำบัดในครั้งนี้ที่สามารถนำเสนอได้อย่างภาคภูมิใจ

  27. สรุป - เข้าถึง - เข้าใจ - ให้โอกาส

More Related