1 / 49

บทที่ 8 ราคา

บทที่ 8 ราคา. ความหมายของราคา. ผลิตภัณฑ์. ราคา. ช่องทางการจัดจำหน่าย. Marketing Mixs. การส่งเสริมการตลาด. ราคา (Price) หมายถึง “ มูลค่าของผลิตภัณฑ์หรือบริการที่แสดงค่าออกมา ในรูปหน่วยเงิน หรือหน่วยการแลกเปลี่ยนอื่นๆ ”. มูลค่า (Value) หมายถึง ความสามารถของผลิตภัณฑ์หนึ่งในหน่วยการ

lotus
Download Presentation

บทที่ 8 ราคา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 8 ราคา

  2. ความหมายของราคา ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย Marketing Mixs การส่งเสริมการตลาด ราคา (Price)หมายถึง “มูลค่าของผลิตภัณฑ์หรือบริการที่แสดงค่าออกมา ในรูปหน่วยเงิน หรือหน่วยการแลกเปลี่ยนอื่นๆ” มูลค่า (Value)หมายถึง ความสามารถของผลิตภัณฑ์หนึ่งในหน่วยการ แลกเปลี่ยนกับผลิตภัณฑ์อื่นๆ

  3. ราคา (Price) หมายถึง จำนวนเงินที่นักท่องเที่ยวต้องจ่ายตามมูลค่าของสินค้าและ บริการที่ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวเป็นผู้กำหนด บทบาทของราคา • เป็นเครื่องมือในการแข่งขันธุรกิจโดยเฉพาะในระบบตลาดเสรี ราคาเป็นเครื่องมือทั้งขับไล่ และเชิญชวนคู่แข่งขัน • เป็นเครื่องมือสร้างกำไร และเป็นรายรับของกิจการโดยตรง • เป็นตัวกำหนดให้วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์มีอายุยาวหรือสั้น

  4. ราคาของผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวราคาของผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว • ราคาที่เป็นจริง หมายถึง ราคาจริงของสินค้าและบริการแต่ละประเภทที่เป็นองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เป็นต้นทุนหรือมูลค่าของการผลิตสินค้านั้นๆ เช่นค่าที่พัก ค่าอาหาร ค่ารถ ค่าซื้อของที่ระลึก ค่าโดยสารเครื่องบิน ค่าเข้าชม ฯลฯ • ราคาทางจิตใจ หมายถึง ราคาหรือคุณค่าที่สร้างขึ้นเพื่อให้ลูกค้าภูมิใจ มีความสุข ความพอใจในการใช้สินค้าและบริการนั้น ราคาการท่องเที่ยวแต่ละครั้งจึงหมายรวมถึงราคาของสินค้าที่เป็นจริงบวกกับราคาหรือคุณค่าทางจิตใจ

  5. วัตถุประสงค์ในการกำหนดราคาวัตถุประสงค์ในการกำหนดราคา • เพื่อผลทางด้านกำไร ควรได้ผลตอบแทนสูงสุดตามเป้าหมาย และควรเป็นกำไรสูงสุดทั้งกิจการ ไม่ใช่เฉพาะกำไรแต่ละรายการ • เพื่อผลทางด้านการขาย เพื่อเพิ่มปริมาณการขาย และรักษาส่วนถือครองตลาด โดยพิจารณาราคาของคู่แข่งขันเป็นหลัก เพื่อเพิ่มปริมาณการถือครองตลาดโดยการลดราคาสินค้า หรือตัดราคา ซึ่งนับว่าเป็นการเสี่ยงอย่างหนึ่งในทางธุรกิจ เพราะคู่แข่งขันอาจลดราคาตามได้ • เพื่อรักษาเสถียรภาพของราคา พยายามรักษาราคาให้คงที่โดยการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น

  6. ปัจจัยที่ควรคำนึงในการกำหนดราคาปัจจัยที่ควรคำนึงในการกำหนดราคา • ปัจจัยภายใน ได้แก่ วัตถุประสงค์ของบริษัท ประเภทและลักษณะของสินค้า ต้นทุน • ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ความต้องการของตลาด สถานการณ์การแข่งขันในตลาด อำนาจการต่อรองระหว่างผู้ผลิตกับผู้บริโภค อำนาจการซื้อของผู้บริโภคมีระดับต่างๆ กัน การควบคุมและการจัดการสินค้าสมัยใหม่ สภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ฤดูกาล และอื่นๆ

  7. ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการกำหนดราคาปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการกำหนดราคา • 1 Customer Characteristics กลุ่มผู้บริโภคสินค้าทางการท่องเที่ยวมีความต้องการหลายระดับมีความแตกต่างกันทั้งด้านกายภาพ และทางด้านจิตวิทยา

  8. P P InverseDemand Q Q สินค้าทั่วไปส่วนใหญ่ (Most Goods) สินค้าฟุ่มเฟือย (Prestige Goods) ลักษณะของเส้นอุปสงค์ • เส้นอุปสงค์ (Demand Curve)

  9. Price Elasticity = % change in Quantity % change in Price ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ที่มีต่อราคา • กรณีอุปสงค์มีความยืดหยุ่นสูง (Elastic Demand) • ค่าความยืดหยุ่นมากกว่า 1 • การเปลี่ยนแปลงราคามีผลต่อปริมาณการซื้อเป็นอย่างมาก • กรณีอุปสงค์มีความยืดหยุ่นต่ำ (Inelastic Demand) • ค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่า 1 • การเปลี่ยนแปลงราคามีผลต่อปริมาณการซื้อน้อย หรือไม่มีเลย

  10. 2 Corporate Objective ในการตั้งราคาของผู้ผลิตมีวัตถุประสงค์เพื่อตั้งราคาสูงสุดและเพิ่มยอดขายให้กับกิจการของตน • 3 Competitors สินค้าที่มีคู่แข่งขันมากจะตั้งราคาได้ต่ำกว่าสินค้าที่มีคู่แข่งขันน้อย ..... • 4 Cost การตั้งราคาต้องคุ้มค่ากับต้นทุนที่เกิดขึ้น • 5 Customer Demand Volumes เป็นอำนาจในการต่อรองระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย...

  11. 3 Competition • โครงสร้างของตลาด • ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Pure Competition) • ตลาดผูกขาด (Pure Monopoly) • ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) • ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Monopolistic Competition) • กลยุทธ์การตลาดของคู่แข่งขัน • พิจารณาจากศักยภาพการแข่งขันด้านราคา • ศึกษาพฤติกรรมในอดีตของคู่แข่งขัน

  12. BBQ 10 B. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์(Pure Competition) • มีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมาก • ผลิตภัณฑ์ไม่มีความแตกต่างกัน สามารถทดแทนกันได้ • ราคาเป็นไปตามกลไกของตลาด กำหนดโดยผู้ซื้อและผู้ขาย

  13. ตลาดผูกขาด (Pure Monopoly) • มีผู้ขายรายใหญ่เพียงรายเดียว • ส่วนมากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสัมปทาน หรือเป็นรัฐวิสาหกิจ ไม่มีผลิตภัณฑ์อื่นทดแทน • กำหนดราคาได้ตามความพอใจ ยกเว้นมีกฎหมายควบคุม BBQ 20 B.

  14. BBQ 10 B. BBQ 10 B. 12 B. 12 B. 12 B. BBQ 10 B. ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) • มีจำนวนผู้ขายน้อย ส่วนมากเป็นผู้ขายรายใหญ่ • ผลิตภัณฑ์มีลักษณะพิเศษ ผู้ขายมีความชำนาญเฉพาะ • มีการรวมตัวกันในด้านราคาของทั้งอุตสาหกรรม

  15. BBQ GRAPE 18 B. BBQ BANANA 10 B. BBQ PUMKIN 12 B. BBQ APPLE 15 B. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Monopolistic Competition) • เป็นตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด • ผลิตภัณฑ์แตกต่างกันด้านคุณภาพ รูปแบบ หรือบริการ • ราคาขึ้นอยู่กับความสามารถในการสร้างความแตกต่าง

  16. 6 Channels จำนวนคนกลาง หรือตัวแทนการท่องเที่ยว • 7 Complementary Service and Facilities การท่องเที่ยวแบบเหมาจ่าย • 8 Corporate Image and Positioning ราคาของการท่องเที่ยวเป็นคุณค่าทางจิตใจ ดังนั้นภาพลักษณ์ของธุรกิจ ตำแหน่งของสินค้าและบริการที่แตกต่าง จะตั้งราคาได้สูง • 9 Consistency With Marketing Mix Elements and Strategy ความสอดคล้องของส่วนผสมทางการตลาดและกลุยุทธ์

  17. ราคาสูงเกินไป ไม่มีผู้ต้องการซื้อ Customer Value Ceiling Price Floor Price Cost ราคาต่ำเกินไป ทำให้กิจการขาดทุน แนวความคิดในการกำหนดราคา Price GAP ช่องว่างในการ กำหนดราคา Competitor’s prices and other external and internal factors

  18. ขั้นตอนการกำหนดราคา • 1 การกำหนดวัตถุประสงค์ • 2 การพิจารณาความยืดหยุ่น • 3 กลยุทธ์ในการตั้งราคา • 4 การสร้างราคาขึ้นมาโดยวิธีที่เหมาะสม

  19. 1 การกำหนดวัตถุประสงค์ • วัตถุประสงค์ของการตั้งราคา มี 5 ประการ • เพื่อรายได้จากการขาย • เพื่อเพิ่มเงินสดหมุนเวียน • เพื่อการเพิ่มขึ้นของรายได้จากการขาย • เพื่อผลกำไร • เพื่อกำไรสูงสุด • เพื่อให้ได้ผลตอบแทนตามเป้าหมาย • เพื่อความอยู่รอด

  20. 1 การกำหนดวัตถุประสงค์(ต่อ) • เพื่อปริมาณการขาย • เพื่อรักษาส่วนครองตลาด • เพื่อเพิ่มส่วนครองตลาด • เพื่อความอยู่รอด • เพื่อการแข่งขัน • เพื่อตัดราคาของคู่แข่งขัน • เพื่อสังคม • เพื่อรักษาภาวการณ์จ้างงาน • เพื่อจรรยาบรรณที่ดี

  21. 2. การพิจารณาความยืดหยุ่น • คือ การพิจารณาความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงราคากับความเปลี่ยนแปลงความต้องการซื้อ • ความยืดหยุ่น = การเปลี่ยนแปลงปริมาณการซื้อ การเปลี่ยนแปลงราคา

  22. 2. ปัจจัยการพิจารณาความยืดหยุ่น • ลักษณะของสินค้าบริการ - พิจารณาจากคุณลักษณะเด่นของสินค้า • รายได้ของลูกค้า • ภาวะการณ์แข่งขัน –ถ้าการแข่งขันมาก ความยืดหยุ่นของราคาก็มาก

  23. 3. กลยุทธ์ในการกำหนดราคา 1.     การตั้งราคาตามตลาด (Market Pricing)คือ การตั้งราคาทั่ว ๆ ไปตามแนวระดับราคาที่เป็นอยู่ตามท้องตลาด เป็นราคาที่ใกล้เคียงกับราคาของบริษัทคู่แข่ง 2.     การตั้งราคาโดยการบวกกำไรจากต้นทุน (Market up Pricing)คือ การบวกกำไรจากต้นทุนต่อหน่วย โดยมากแล้วจะบวกกำไรในช่วง 10-50% 3.     การตั้งราคาต่ำกว่าทุน (Lost Pricing)คือ การตั้งราคาขายในราคาขาดทุนเพื่อเจาะตลาด หรือดึงดูดลูกค้าให้มาซื้อในปริมาณมากที่สุด

  24. 4.     การตั้งราคาขายสินค้าเป็นชุดเดียวกัน (bundle Pricing)คือ การขายสินค้าหลายประเภทรวมกันในราคาเหมา ซึ่งจะถูกกว่าราคาแยกขาย 5.     การตั้งราคาไว้สูงที่สุด (Skimming Pricing)เนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์หรือรายการนำเที่ยวใหม่ที่เพิ่งออกสู่ตลาดเป็นครั้งแรก และยังไม่คู่แข่งเลย 6.     การตั้งราคาต่ำกว่าราคาตลาด (Penetration Pricing)คือ การตั้งราคาเพื่อเจาะตลาด เพื่อให้ได้ส่วนแบ่งทางการตลาดมากที่สุดในระยะเวลาอันสั้น

  25. 7.     การตั้งราคาแบบผูกขาด (Monopoly Pricing)คือการตั้งราคาจากผู้ผลิตที่มีอยู่รายเดียว 8.     การตั้งราคาในตลาดที่มีผู้ผลิตน้อยราย (Oligopoly Pricing) จะมีลักษณะของการตั้งราคา 2 ลักษณะ คือ • (1) มีผู้ผลิตรายใดรายหนึ่งลดราคาหรือปรับปรุงคุณภาพ ทำให้ผู้ผลิตรายอื่นต้องปรับตัวตาม • (2) ผู้ผลิตน้อยรายรวมตัวกันกำหนดราคาที่ไม่แตกต่างกัน เป็นแบบผูกขาด

  26. 9.     การตั้งราคาตามวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (PLC)คือ การตั้งราคาตามขั้นแนะนำ ขั้นเจริญเติบโต ขั้นเจริญเติบโตเต็มที่ ขั้นอิ่มตัวและถดถอย 10.  การตั้งราคาโดยรัฐบาลหรือสมาคมกลางหรือองค์กรกลาง (Regulated Pricing)คือ การตั้งราคาโดยพิจารณาข้อมูลจากหน่วยงานภาคเอกชน กำหนดราคาที่ยุติธรรมเพื่อไม่ให้มีการแข่งขันสูงจนเกินไป และเพื่อไม่ให้ลูกค้าถูกเอารัดเอาเปรียบ

  27. 4. การสร้างราคาโดยวิธีที่เหมาะสม • 1. ใช้ต้นทุนเป็นหลักสำคัญ • Cost-plus Pricing • Mark up Pricing • Break – Even Point • Fix cost • Variable Cost • Total Cost • 2. การกำหนดราคาตามตลาด

  28. การกำหนดราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุน(Cost-plus Pricing) • คำนวณง่าย สะดวก • ประมาณการยอดขาย • คำนวณต้นทุนต่อหน่วย • กำหนดกำไรต่อหน่วยที่ต้องการ • มีข้อควรระวังในการคำนวณต้นทุนต่อหน่วย ที่เป็นต้นทุนเฉลี่ย ณ ระดับการประมาณการยอดขาย

  29. ต้นทุนต่อหน่วย = VC + FC = 100 + 3,000,000 = 160 บาท Q 50,000 ตัวอย่างที่ 9-3 กิจการผลิตครีมสปา มีต้นทุนผันแปร กระปุกละ 100 บาท ต้นทุนคงที่รวม 3,000,000 บาทต่อเดือน คาดว่าจะขายได้เดือนละ 50,000 กระปุก ต้องการได้กำไร กระปุกละ 50 บาท ราคาขาย = ต้นทุนต่อหน่วย + กำไรที่ต้องการ = 160 + 50 = 210 บาท

  30. การกำหนดราคาโดยใช้ส่วนเพิ่ม (Markup Pricing) • สะดวกในการเปรียบเทียบราคาขาย • ทำให้เข้าใจโครงสร้างต้นทุน ราคา และกำไร • กำหนดร้อยละส่วนเพิ่ม (Markup Percentage) ที่ต้องการ • คำนวณราคาโดยอ้างอิงต้นทุนและร้อยละส่วนเพิ่ม • มีวิธีคำนวณ 2 แบบ คือ • Markup on Cost • Markup on Selling Price

  31. ตัวอย่างที่ 9-4และ 9-5 เข็มขัดราคาทุน 160 บาท ต้องการกำไร 20% จะตั้งราคาเท่าไร? ใช้วิธีการเทียบบัญญัติไตรยางศ์จากสูตร Price = Cost + Mark-Up Mark-Up on Cost Mark-Up on Price วิธีคิด ทุน 100 ขาย 120 ทุน 160 ขาย 120 x 160 100 ตอบ ขาย 192 บาท วิธีคิด ทุน 80 ขาย 100 ทุน 160 ขาย 100 x 160 80 ตอบ ขาย 200 บาท Price = Cost + Mark-Up 100 = Cost + 20 100 = 80 + 20 Price = Cost + Mark-Up Price = 100 + 20 120 = 100 + 20

  32. การกำหนดราคาจากการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการกำหนดราคาจากการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน เป็นการกำหนดราคาโดยอาศัยต้นทุนร่วมกับระดับความต้องการ (Demand) ณ ระดับราคาต่างๆมาเป็นปัจจัยหลักในการกำหนดราคา - จุดคุ้มทุน (Break – Even Point)หมายถึง “ระดับปริมาณการผลิตและ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ทำให้เกิดรายได้รวมเท่ากับต้นทุนรวมของกิจการ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่รวม (หน่วยผลิตภัณฑ์) ราคาขาย - ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ราคาขาย ณ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่รวม + ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย = ต้นทุนคงที่ต่อหน่วย + ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ปริมาณขาย (หน่วย)

  33. TR (= P x Q) BEP Profit P TC (= FC + VC) FC Q การกำหนดเป้าหมายกำไร (Target Profit Pricing) • นำแนวคิดเรื่องจุดคุ้มทุน(Break Even) มาใช้ในการกำหนดราคา • การคำนวณกำไรส่วนที่เกินจากต้นทุนคงที่ ใช้สูตร FC Contribution = P - VC

  34. BEP (Unit) = FC P - VC = 600 15 - 5 ดังนั้น จะต้องขายเพิ่มขึ้นอีก = 200 10 = 20 ด้าม รวมเป็นต้องขายทั้งสิ้น 80 ด้าม ตัวอย่างที่ 9-6 กิจการผลิตปากกาแห่งหนึ่ง มีต้นทุนคงที่ 600 บาท ต้นทุนผันแปร ด้ามละ 5 บาท ตั้งราคาขาย ด้ามละ 15 บาท FC Contribution = P - VC = 15 - 5 = 10 บาทต่อหน่วย BEP (Unit) = 60 ด้าม ถ้าต้องการกำไร 200 บาท จะต้องขายปากกาให้ได้กี่ด้าม?

  35. 2 การกำหนดราคาโดยอาศัยกลไกการตลาด การกำหนดราคาโดยอาศัยกลไกตลาด (Price Base on Demand and Supply)เป็นการกำหนดราคาโดยทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ที่ว่าด้วยกฎ ของอุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply) ราคา Supply เป็น ระดับราคา ดุลภาค จุดดุลภาพ Demand ปริมาณ

  36. เกณฑ์และกลยุทธ์ในการกำหนดราคาสินค้าทางการท่องเที่ยวเกณฑ์และกลยุทธ์ในการกำหนดราคาสินค้าทางการท่องเที่ยว • นโยบายและวัตถุประสงค์ของผู้ประกอบการ • ลักษณะของอุปสงค์และตลาด • ต้นทุนการผลิตของสินค้าและบริการ มี 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) และ ต้นทุนผันแปร (Variable Cost) • การแข่งขันระหว่างธุรกิจ • การสร้างความแตกต่างในตัวสินค้า • ขนาดของการซื้อ • เวลาของการบริโภค

  37. กลยุทธ์การกำหนดราคา ราคาสำหรับ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ราคาสำหรับ ผลิตภัณฑ์โดยทั่วไป กลยุทธ์การปรับราคา กลยุทธ์ราคา

  38. การกำหนดราคาสำหรับผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวใหม่การกำหนดราคาสำหรับผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวใหม่ • กำหนดราคาสูงที่สุด (Skimming Pricing)คือ การตั้งราคาให้สูงสุดที่จะทำได้ในระดับที่ลูกค้าพอใจซื้อ เพื่อแสดงว่าผลิตภัณฑ์มีคุณภาพดี มีการลงทุนสูง เป็นการแนะนำผลิตภัณฑ์ใหม่โดยเจาะตลาดผู้มีรายได้สูง และราคาไม่เป็นปัญหาในการตัดสินใจซื้อ ในขณะเดียวกันผู้ประกอบธุรกิจก็พยายามจัดจำหน่ายเพื่อให้ได้จำนวนลูกค้าสูงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้

  39. การกำหนดราคาสำหรับผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวใหม่การกำหนดราคาสำหรับผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวใหม่ 2. กำหนดราคาต่ำกว่าราคาตลาด (Penetration Pricing)เป็นการกำหนดราคาด้วยราคาต่ำสุดเท่าที่จะทำได้เพื่อให้ได้ส่วนแบ่งของตลาดและดึงดูดความสนใจของลูกค้ามากที่สุด ปัญหาคือการขึ้นราคาในเวลาต่อมาทำได้ยากและผลตอบแทน กำไรอาจจะต่ำตลอดไป แต่วิธีนี้ใช้ได้ผลดีเมื่อตลาดมีความยืดหยุ่นต่อราคาสูง

  40. กลยุทธ์การกำหนดราคาสำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่กลยุทธ์การกำหนดราคาสำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ • ผลิตภัณฑ์ใหม่แบบริเริ่ม (Innovative Product) และ ผลิตภัณฑ์ใหม่แบบปรับปรุง (Modified Product) • กลยุทธ์ราคาหัวกะทิ • กลยุทธ์ราคาเจาะตลาด • ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เลียนแบบ (Me-too Product) • กลยุทธ์ราคาตามระดับราคาและคุณภาพ

  41. Ceiling Price Price Gap Floor Price 1. กลยุทธ์ราคาหัวกะทิ • กำหนดราคาสูงในช่วงแรก หลังจากนั้นอาจลดราคาลง • เหมาะกับผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีความแตกต่าง ต้องการใช้เงินลงทุนมาก เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงเร็ว ราคาสูงแสดงถึงภาพลักษณ์ที่ดี อุปสงค์มีความยืดหยุ่นต่ำ (Inelastic Demand) กลยุทธ์ราคาหัวกะทิ (Skimming Pricing Strategy)

  42. Ceiling Price Price Gap Floor Price 2. กลยุทธ์ราคาเจาะตลาด • กำหนดราคาต่ำตั้งแต่ช่วงแรก เพื่อให้เข้าสู่ตลาดได้ง่าย • เหมาะกับผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ไม่มีความแตกต่าง สามารถลดต้นทุนผลิตได้จากการผลิตจำนวนมากผู้บริโภคให้ความสำคัญต่อราคา (Price Sensitive) อุปสงค์มีความยืดหยุ่นสูง (Elastic Demand) กลยุทธ์ราคาเจาะตลาด (Penetration Pricing Strategy)

  43. ราคาสูง ราคาต่ำ คุณภาพ สูง คุณภาพ ต่ำ 3. กลยุทธ์ราคาตามระดับคุณภาพ • กำหนดราคาโดยอ้างอิงจากราคาของคู่แข่งขัน กลยุทธ์คุณภาพสูง ราคาสูง (Premium Strategy) กลยุทธ์คุณภาพเกินราคา (Good-value Strategy) กลยุทธ์ราคาเกินคุณภาพ (Overcharging Strategy) กลยุทธ์ประหยัด (Economy Strategy)

  44. กลยุทธ์การปรับราคา • การปรับราคาให้แตกต่างกัน (Discriminatory Pricing) • การปรับราคาโดยการให้ส่วนลด (Discount Pricing) • การปรับราคาโดยส่วนยอมให้ (Allowance Pricing) • การลดราคา (Mark-down Pricing)

  45. 1. การปรับราคาให้แตกต่างกัน • ต้องสามารถแบ่งแยกส่วนตลาดได้อย่างชัดเจน และสามารถป้องกันการโยกย้ายผลิตภัณฑ์ระหว่างตลาดได้ • การปรับราคาให้แตกต่างกันตามกลุ่มลูกค้า • การปรับราคาโดยให้ส่วนลดสำหรับตลาดรอง • การปรับราคาให้แตกต่างกันตามช่วงเวลา • การปรับราคาให้แตกต่างกันตามที่ตั้ง

  46. 2. การปรับราคาโดยการให้ส่วนลด • เป็นการลดราคาจากราคาที่ได้จัดทำไว้ในบัญชีราคา (Price List) ตามเงื่อนไขที่กำหนดและไม่มีกำหนดระยะเวลา • ส่วนลดเงินสด (Cash Discount) • ส่วนลดปริมาณ (Quantity Discount) • ส่วนลดตามหน้าที่ (Functional Discount)หรือส่วนลดการค้า (Trade Discount)

  47. 3. การปรับราคาโดยใช้ส่วนยอมให้ • เป็นส่วนลดที่ผู้ขาย “ยอมให้” แก่ผู้ซื้อตามเงื่อนไขที่ตกลงกัน • ส่วนยอมให้โดยการแลกเปลี่ยน (Trade-in Allowance) • ส่วนยอมให้จากการช่วยส่งเสริมการตลาด (Promotional Allowance)

  48. 4. การลดราคา • เป็นการลดราคาลงชั่วคราว มีกำหนดระยะเวลาไว้ชัดเจน จุดประสงค์เพื่อให้มียอดขายในช่วงนั้นเพิ่มขึ้น หรือระบายผลิตภัณฑ์ที่ล้าสมัย SALE ! 3 FOR 2

More Related