120 likes | 260 Views
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพสถานศึกษาที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน. เอกสารแนวทางการดำเนินงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพสถานศึกษาที่ต่ำกว่าเกณฑ์ ตามโครงการแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพสถานศึกษาที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน. วัตถุประสงค์ :
E N D
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพสถานศึกษาที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานโครงการเพิ่มประสิทธิภาพสถานศึกษาที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน เอกสารแนวทางการดำเนินงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพสถานศึกษาที่ต่ำกว่าเกณฑ์ ตามโครงการแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพสถานศึกษาที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานโครงการเพิ่มประสิทธิภาพสถานศึกษาที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน วัตถุประสงค์ : 1. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มีผลการประเมินต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 2. ยกระดับคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษาให้สามารถผ่านเกณฑ์มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอก 3. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้เข้มแข็ง
เป้าหมายเชิงปริมาณและคุณภาพ (2553 – 2555 ) สถานศึกษา 7,790 โรง
กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงานกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงาน หน่วย : แห่ง เกณฑ์การคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย พิจารณาสถานศึกษาที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน รอบสอง เรียงตามปีที่ได้รับการประเมินและตามลำดับค่าเฉลี่ยผลการประเมินจากมากไปหาน้อย
แนวทางการบริหารจัดการโครงการแนวทางการบริหารจัดการโครงการ • ดำเนินการในรูปคณะกรรมการ + คณะทำงาน • กำหนดเป้าหมายรายปี + กรอบการทำงานชี้แจงเขต สถานศึกษา • แจ้งจัดสรรงบประมาณลงสถานศึกษา+เขตพื้นที่ • เขตพื้นที่ร่วมกับสถานศึกษาบริหารจัดการคุณภาพในรูป เครือข่าย • เขตพื้นที่การศึกษาส่งเสริมสนับสนุนในลักษณะการวิจัยและ พัฒนา • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายในเขตและภูมิภาค
งบประมาณ ระหว่างปี 2553 - 2555 รวมทั้งสิ้น 1757.811 ล้านบาท หน่วย : ล้านบาท
งบประมาณและเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณและเกณฑ์การจัดสรร หน่วย : ล้านบาท
งบประมาณและเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณและเกณฑ์การจัดสรร
งบประมาณและเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณและเกณฑ์การจัดสรร
การกำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน 1. ระบบการกำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผ่านระบบอิเลคทรอนิกส์ และการลงพื้นที่ • คณะทำงานจาก สพฐ. • ผู้รับผิดชอบโครงการ • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. ระบบการเฝ้าระวัง on-line โดยการแสดงความก้าวหน้าเทียบกับแผน/เกณฑ์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. สถานศึกษาที่ไม่ผ่านการรับรองการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง ( 2549 – 2553) สามารถผ่านการรับรองในรอบถัดไป 2. ยกระดับความสามารถผู้เรียนด้านการคิดวิเคราะห์ คิดริเริ่มสร้างสรรค์และการ ใฝ่เรียนรู้ผ่านกระบวนการทำงานกลุ่ม(Group Activities) และการทำโครงงาน (Project-based Learning) 3. เพิ่มศักยภาพครูให้สามารถจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดการ เรียนรู้แบบคละชั้น (Multi Grade Classroom Learning) และการจัดการ เรียนรู้แบบโครงงาน บูรณาการการเรียนรู้ในชั้นเรียนให้เข้าถึงการดำเนินชีวิต จริง พัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ รวมทั้งใช้ผลการวิจัยในชั้นเรียนเป็นฐานการ พัฒนาผู้เรียน 4. เสริมสร้างระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้มีความเข้มแข็ง