450 likes | 657 Views
การจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด. โดย นายธนวัฒน์ พลอยโสภณ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดขอนแก่น. การจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด. เป็นระบบแผนพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์.
E N D
การจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัดการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด โดย นายธนวัฒน์ พลอยโสภณ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดขอนแก่น
การจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัดการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด เป็นระบบแผนพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์ “มุ่งเน้นความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ระดับชาติกับยุทธศาสตร์ระดับพื้นที่เพื่อถ่ายทอดเป้าหมายการพัฒนาระดับชาติ (Agenda) ลงสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ตามศักยภาพที่มีอยู่ ด้วยการดำเนินการตามกิจกรรมที่เป็นพันธกิจของหน่วยงาน ( Function )กับกิจกรรมตามศักยภาพทางการพัฒนาของพื้นที่ ( Area )”
ยุทธศาสตร์ระดับชาติ Agenda แผนพัฒนาจังหวัด/อำเภอ Function / Area ยุทธศาสตร์ระดับพื้นที่
การจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัดการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ความต้องการและศักยภาพ ทางการพัฒนาของอำเภอ ยุทธศาสตร์การพัฒนา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาอำเภอ แผนบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์การพัฒนารายสาขาระดับชาติ แผนพัฒนาจังหวัด ความต้องการและศักยภาพทางการพัฒนาของจังหวัด เป้าหมายและทิศทางการพัฒนาจังหวัด
การจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด คือการตอบ 4 คำถามสำคัญ Where are we now ?ปัจจุบันเราอยู่ ณ จุดไหน ? SWOT Analysis ศักยภาพทางการพัฒนา Where do we want to go ?เราต้องการไปสู่ จุดไหน ? Vision and Goals เป้าหมายและทิศทางการพัฒนาที่มุ่งหวัง How do we get there ?เราจะไปสู่จุดได้อย่างไร ? Strategies ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ What do you have to do or change ?เราจะต้องทำหรือเปลี่ยนแปลง อะไรบ้าง ? Implementation แผนงาน/โครงการ
องค์ประกอบของแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัดองค์ประกอบของแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ แผนงาน/โครงการ
การจัดทำ “วิสัยทัศน์” เราต้องการเป็นอะไร คือการตอบคำถามว่า โดยสิ่งที่เราจะเป็นนั้นต้องสอดคล้องกับกับ.... 1. เป้าหมาย/ทิศทางการพัฒนาของจังหวัดและของประเทศ 2. ความต้องการ/ศักยภาพของพื้นที่ เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำ SWOT Analysis
วิสัยทัศน์และพันธกิจการพัฒนาประเทศวิสัยทัศน์และพันธกิจการพัฒนาประเทศ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน คนไทยมีคุณธรรมนำความรอบรู้ รู้เท่าทันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ เป็นธรรม สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพ ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน อยู่ภายใต้ระบบบริหารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดำรงไว้ซึ่งระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และอยู่ในประชาคมโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี 4 พันธกิจการพัฒนา พัฒนาคน ให้มีคุณภาพ พร้อมคุณธรรมและรอบรู้อย่าง เท่าทัน ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็งพึ่งตนเองได้ พัฒนาระบบบริหาร จัดการประเทศให้เกิด ธรรมาภิบาลภายใต้ ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เสริมสร้างเศรษฐกิจให้มีคุณภาพ เสถียรภาพ เป็นธรรม ดำรงความหลากหลาย ทางชีวภาพสร้างความ มั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และคุณภาพสิ่งแวดล้อม
การจัดทำ “วิสัยทัศน์” (ต่อ) วิธีการจัดทำ เป้าหมาย / ทิศทางการ ของพัฒนาประเทศตามแผนฯ 10 SWOT Analysis เปรียบเทียบกับข้อมูล พื้นฐานของอำเภอ ( 5 ด้าน ) ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ศักยภาพการพัฒนา ด้านคุณภาพคน วิสัยทัศน์ของอำเภอ ( 5 ด้าน ) ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการบริหารจัดภาครัฐ
บริบทการเปลี่ยนแปลง และผลกระทบ • เศรษฐกิจภาคอื่น • ขยายตัวสูงกว่าอีสาน • (4.4% กับ 5.7%) • แรงงานอพยพ • ~ 8-9 แสนคน/ปี • เหลือเด็ก/คนแก่ • ขาดผู้ดูแล • ครอบครัว/ชุมชน • อ่อนแอ • โครงสร้าง ปชก.เปลี่ยน • ปี55 เด็ก/แรงงานลด • คนแก่เพิ่ม • อัตราพึ่งพิงเกิน 50% • แต่ผลิตภาพแรงงาน • ยังต่ำ • คชจ./รายได้ เพิ่ม • การออมลดลง • ไม่มั่นคง • ความยากจน • เอทานอล 17 แห่ง • (4.7 ล้านลิตร/วัน) • มันส่งออกโต 26.6% • (4.3 หมื่นล้านบาท) • ยางส่งออกเพิ่ม 38% • ต้องการมันเพิ่ม • (4.8 ล้านตัน/ปี) • อ้อย ยาง เพิ่ม • การใช้ที่ดินเปลี่ยน • การทำนาลดลง • ป่ายาง ไร่มัน อ้อยเพิ่ม • ความมั่นคงด้าน • อาหารลดลง • ความหลากหลาย • ทางชีวภาพลด • อุตสาหกรรม • ขยายตัว 10-20% • (labor intensive) • แรงงานออกจาก • ภาคเกษตร • พึ่งเครื่องจักรมาก • ทำนาหว่าน • ผลผลิตต่ำ • ต้นทุนผลิตสูง • ความมั่นคงด้าน • อาหารลด • การค้ากับเพื่อนบ้าน • ขยายตัว 14.8% • EWECเสร็จกว่า50% • เวียดนามโตเร็ว • การลงทุนตาม • ชายแดนเพิ่ม • ย้ายฐานเข้าเพื่อนบ้าน • เคลื่อนย้ายสินค้า/คน • แรงงาน/ยาเสพติด • ชุมชนชายแดนโต • โรคติดต่อเพิ่ม • ความไม่ปลอดภัย • ธรรมชาติแปรปรวน • ทรัพยากรเสื่อมสภาพ • การเกษตรเสี่ยงภัย • ผลิตภาพการผลิตต่ำ • เกิดความไม่มั่นคง • ด้านรายได้ • ด้านอาหาร • ความยากจน
ศักยภาพของพื้นที่ • มีพื้นที่ทำเกษตร 40% ของประเทศ เป็นแหล่งผลิตข้าวหอมชั้นดี มีพื้นที่เหมาะสมกว่า 2 ล้านไร่ (บริเวณทุ่งกุลาฯ) มีสภาพอากาศเหมาะกับปศุสัตว์ โค ไก่ สุกร • เป็นฐานอุตสาหกรรมเกษตร (ข้าว น้ำตาล ผลิตภัณฑ์มัน ) ของประเทศ • ตั้งอยู่กลางกลุ่ม GMSมีถนน EWECเชื่อมถึงเวียดนาม และมีจุดค้าขายกับเพื่อนบ้านรอบทิศ (มุกดาหาร หนองคาย นครพนม อุบลราชธานี สุรินทร์) • แหล่งท่องเที่ยวมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว (ปราสาทขอม ซากไดโนเสาร์) • มีเกลือหินสำรอง 18 ล้านล้านตัน โปแตส 2,500 ล้านตัน แร่เหล็ก 27 ล้านตัน • โครงข่ายถนนทั่วถึงทั้งภาค จุดแข็ง • คน 16.8% ยากจน และ 3.8 ล้านคนมีปัญหาสุขภาพ และเสพสิ่งบั่นทอนสุขภาพ • แรงงานไร้ฝีมือ การศึกษาระดับประถม คุณภาพการศึกษาต่ำ ผลิตภาพแรงงานต่ำ • ระทางไกลจาก Gate Way (ESB) ทำให้เสียบเปรียบค่าขนส่งสำหรับ อุตฯ ส่งออก • ทรัพยากรป่าเสื่อมโทรม ดิน และน้ำไม่เอื้ออำนวย • ขาดระบบชลประทาน มีเพียง 14.7% การผลิตต้องขึ้นกับธรรมชาติ • แหล่งท่องเที่ยวดึงดูดได้เฉพาะกลุ่ม จุดอ่อน
ศักยภาพของพื้นที่ (ต่อ) • การขยายโอกาสการศึกษา 12 ปีจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถของคนและแรงงานของภาคและประเทศ • กระแสเศรษฐกิจพอเพียง ช่วยให้คนหันมารู้จักตนเอง และมีความรอบคอบมากขึ้น • นโยบายลดการพึ่งพาพลังงานจากภายนอกและส่งเสริมการใช้แก๊สโซฮอล เพิ่มโอกาสการผลิตพืชพลังงานทดแทน เช่น อ้อย มันสำปะหลัง • จีนมุ่งอุตสาหกรรม ทำให้การพึ่งตนเองด้านเกษตรลด ไทยจึงมีโอกาส • ข้อตกลงเขตการค้าเสรี ไทย-จีน ไทย-ญี่ปุ่น และไทย-อนุภาคลุ่มน้ำโขง ก้าวหน้าดี จะเปิดโอกาสด้านการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว โอกาส • FTA ออสเตรเลีย ทำให้ปศุสัตว์ต้องปรับตัว • ความไม่ปลอดภัย จากการย้ายฐานยาเสพติดมาชายแดนอีสาน • โรคติดต่อ จากการเคลื่อนย้ายแรงงานและหญิงบริการจากเพื่อนบ้าน • สินค้าราคาถูกจากจีนแย่งตลาดมากขึ้น • การสร้างเขื่อนในประเทศจีน ทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำโขงขึ้นลงผิดปกติ กระทบระบบนิเวศน์ลำน้ำสาขาในภาค • ภาวะแปรปรวนของธรรมชาติ ให้การผลิตเสียหายการเกษตร ภัยคุกคาม
บทบาทและทิศทาง การพัฒนาภาค หนองคาย เลย นครพนม อุดรธานี สกลนคร หนองบัวลำภู แหล่งท่องเที่ยวยุคก่อนประวัติศาสตร์ ขอนแก่น มุกดาหาร กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ ยโสธร ชัยภูมิ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ นครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์ ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน • เป็นฐานผลิตอาหารและ พืชพลังงานทดแทนของประเทศ(อีสานกลาง /ล่าง ) เพื่อความมั่นคงด้านอาหารและรายได้เกษตรกร • เป็นฐานอุตสาหกรรมอาหารและเอธานอลของประเทศ (กลุ่ม นม. ขก. อด.) เพื่อรักษาฐานรายได้เดิมและสร้างฐานใหม่ให้กับภาค • เป็นประตูการค้า การท่อง -เที่ยวเชื่อมโยงกับอินโดจีน (กลุ่มหนองคาย/มุก/และอุบล) • เป็นแหล่งท่องเที่ยวและศึกษาทางโบราณคดี อารยธรรมขอม และยุคก่อนประวัติศาสตร์ (อีสานล่าง/กลาง) เนื่องจากเป็นเอกลักษณ์ และมีเฉพาะอีสาน ไม้ผล ยางพารา พืชผัก เมล็ดพันธุ์ ไม้ผล ยางพารา พืชผัก เมล็ดพันธุ์ ทางหลวง เส้นทางรถไฟ พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่อนุรักษ์ ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน อุตสาหกรรมหลักของภาค อุตสาหกรรมหลักของภาค พื้นที่อนุรักษ์/แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ พื้นที่อนุรักษ์/แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ แหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมขอม แหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมขอม ปศุสัตว์/ยางพารา/ไม้ยืนต้น ปศุสัตว์/ยางพารา/ไม้ยืนต้น พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่อนุรักษ์ ทางหลวง เส้นทางรถไฟ
การจัดทำ “วิสัยทัศน์” (ต่อ) ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องรู้ • เป้าหมาย / ทิศทางการพัฒนาของจังหวัด • เป้าหมาย / ทิศทางการของพัฒนาประเทศตามแผนฯ 10 • เป้าหมาย / ทิศทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์เฉเพาะด้าน และรายสาขาระดับชาติ
การจัดทำ “ประเด็นยุทธศาสตร์” คือการตอบคำถามว่า ประเด็นยุทธศาสตร์ เราต้องทำอะไรบ้าง (ประเด็นท้าทาย) เพื่อไปสู่สิ่งที่เราต้องการจะเป็น เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำ Strategies Analysis(Gap Analysis)
การจัดทำ “ประเด็นยุทธศาสตร์” วิธีการจัดทำ จุดที่เราต้องการไปถึงในอนาคต GAP SWOT Analysis จุดที่เราอยู่ ณ ปัจจุบัน
การจัดทำ “ประเด็นยุทธศาสตร์” (ต่อ) วิธีการจัดทำ นำผลการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ข้อจำกัด ในแต่ละด้าน (5 ด้าน) ของอำเภอมากำหนดเป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการ (ประเด็นยุทธศาสตร์) เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ (5 ด้าน ) โอกาส ข้อจำกัด จุดแข็ง จุดอ่อน
ยุทธศาสตร์ การพัฒนา ยุทธศาสตร์ ที่ 1พัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญา และการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ ที่ 2สร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นรากฐานที่มั่นคงของประเทศ 5 ยุทธศาสตร์ ที่ 5เสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ ยุทธศาสตร์ ที่ 3ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลยั่งยืน ยุทธศาสตร์ ที่ 4พัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
การจัดทำ “ประเด็นยุทธศาสตร์” (ต่อ) ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องรู้ • ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาตามแผนฯ 10 • ประเด็นยุทธศาสตร์ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาเฉพาะด้าน / รายสาขาระดับชาติ
การจัดทำ “ เป้าประสงค์” คือการตอบคำถามว่า ผลลัพธ์สุดท้าย (Impact)ที่ต้องการให้เกิดขึ้นจาก เป้าประสงค์ในแต่ละ ประเด็นยุทธศาสตร์ สิ่งที่เราทำคืออะไร เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำ • การกำหนดผลผลิตโดยจำแนกออกเป็นผลผลิตระดับ Ouput /Outcome/Impact
การจัดทำ “ เป้าประสงค์” (ต่อ) วิธีการจัดทำ วิเคราะห์ว่าถ้าสิ่งที่เราจะทำนั้นประสบผลสำเร็จ ๆ นั้นในระดับ Output/Outcome /Impact คืออะไร ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องรู้ • เป้าประสงค์ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผน ฯ 10 • เป้าประสงค์ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ตามยุทธศาสตร์เฉพาะด้าน / รายสาขาระดับชาติ
การจัดทำ “ ตัวชี้วัด” คือการตอบคำถามว่า อะไรจะเป็นสิ่งที่บอกว่าเราบรรลุ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผลลัพธ์สุดท้าย (Impact) เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำ • การวิเคราะห์เพื่อบอกว่า “ผลสำเร็จที่เป็นรูปธรรม ( ทั้งในเชิงปริมาณหรือคุณภาพ ) ดูได้จากอะไร”
การจัดทำ “ ตัวชี้วัด” (ต่อ) วิธีการจัดทำ วิเคราะห์ว่าผลสำเร็จที่เป็นรูปธรรมในระดับ Output/Outcome / Impact ดูได้จากอะไร ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องรู้ • ตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนฯ 10 • ตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ของ ยุทธศาสตร์เฉพาะด้าน/รายสาขาระดับชาติ
การจัดทำ “ ตัวชี้วัด” ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กิจกรรม
การจัดทำ “ กลยุทธ์” คือการตอบคำถามว่า เราจะต้องทำอะไร กลยุทธ์ เพื่อให้บรรลุผลในแต่ละเป้าประสงค์( ONE TO MANY ) เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำ SWOT Analysis ในแต่ละเป้าประสงค์ Strategic Initiative
การจัดทำ “ กลยุทธ์” (ต่อ) วิธีการจัดทำ นำเป้าประสงค์แต่ละตัวมาวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ข้อจำกัด ในการบรรลุ เป้าหมายเพื่อดูว่าถ้าจะทำให้บรรลุเป้าหมาย มีงานสำคัญ อะไรบ้างที่ต้องทำ ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องรู้ • กลยุทธ์ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนฯ 10 • กลยุทธ์ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ ตามยุทธศาสตร์เฉพาะด้าน /รายสาขาระดับชาติ
กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ พัฒนาคนให้มีคุณธรรม นำความรู้เกิดภูมิคุ้มกัน เสริมสร้างสุขภาวะคนไทย ให้แข็งแรง • ปฏิรูประบบสุขภาพอย่างครบวงจร เน้นการป้องกัน การรักษาฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจ • พัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีจิตใจดีงาม มีสำนึกสาธารณะ มีความพร้อมด้านปัญญา อารมณ์ ศิลธรรม • สร้างความมั่นคงด้านอาหารให้เพียงพอ ส่งเสริมการบริโภคที่ปลอดภัย • พัฒนาสมรรถนะเพิ่มพูนความรู้ ทักษะแก่แรงงาน • เร่งผลิตกำลังคน นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย • สนับสนุนให้คนไทย ลด ละ เลิก พฤติกรรมสุ่มเสี่ยงทางสุขภาพ • ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตและจัดการองค์ความรู้ทุกระดับ เสริมสร้างคนไทยอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข • สร้างสภาพแวดล้อม การดำรงชีวิตที่ปลอดภัยน่าอยู่ สงบสุข • เสริมสร้างครอบครัวให้เข้มแข็ง มีสัมพันธ์ภาพที่อบอุ่น • สร้างหลักประกันที่มั่นคงทางเศรษฐกิจที่หลากหลายทั่วถึง • ขยายบริการสังคมแก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส
ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มั่นคงของประเทศยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มั่นคงของประเทศ บริหารจัดการกระบวนการชุมชนเข้มแข็ง • ส่งเสริมการรวมกลุ่ม ร่วมคิด ร่วมทำ เปิดพื้นที่สาธารณะ จัดกิจกรรมเผยแพร่ครบวงจร • ปรับปรุงกลไก กฎระเบียบให้เอื้อต่อการสร้างชุมชน สร้างความมั่นคง ของเศรษฐกิจชุมชน สร้างศักยภาพ ของชุมชนอยู่ร่วมกับ ทรัพยากรอย่างเกื้อกูล • สนับสนุนการรวมกลุ่มในรูปสหกรณ์และพัฒนาระบบเครือข่าย เชื่อมโยงสู่ตลาดภายนอก • ส่งเสริมสิทธิชุมชน และการมีส่วนร่วมชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น • นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างสรรค์คุณค่าสินค้าและบริการ • สร้างกลไกและเครือข่ายร่วมชุมชน ปกป้องคุ้มครองทรัพยากร • ส่งเสริมภาคการผลิตและบริการให้สร้างอาชีพ/การจ้างงานในท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืนยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน สนับสนุนให้เกิดการแข่งขันที่เป็นธรรม และกระจายผลประโยชน์การพัฒนาอย่างเป็นธรรม • ส่งเสริมการแข่งขันการประกอบธุรกิจอย่างเสรีและเป็นธรรม • กระจายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสู่ภูมิภาคอย่างสมดุล • เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการระบบการเงินฐานราก • ดำเนินนโยบายการคลังเพื่อส่งเสริมการกระจายรายได้ ปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อเพิ่มผลิตภาพคุณค่าสินค้าบนฐานความรู้ความเป็นไทย สร้างภูมิคุ้มกัน ระบบเศรษฐกิจ • บริหารเศรษฐกิจส่วนรวมอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการออม • ปรับโครงสร้างภาคเกษตร/ อุตสาหกรรม/บริการ • เพิ่มทางเลือกระดมทุนในต่างประเทศ • พัฒนาปัจจัยสนับสนุนการปรับโครงสร้างการผลิต : บริหารองค์ความรู้โครงสร้างพื้นฐาน Logistic นโยบายการค้า การลงทุน ความร่วมมือระหว่างประเทศ • เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและคุณภาพสิ่งแวดล้อม สร้างสภาพแวดล้อม ที่ดีเพื่อการพัฒนาที่ยังยืน พัฒนาคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น • ปรับแบบแผนการผลิตการบริโภคเพื่อลดผลกระทบต่อฐานทรัพยากรฯ และสิ่งแวดล้อม • จัดการองค์ความรู้ และสร้างภูมิคุ้มกัน • สร้างนวัตกรรมจากทรัพยากรชีวภาพ • ส่งเสริมการใช้ความหลากหลายทางชีวภาพสร้างความมั่นคงของภาคเศรษฐกิจ ชุมชน • พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อลดมลพิษ รักษาฐานทรัพยากรและความสมดุลของระบบนิเวศ • พัฒนาระบบฐานข้อมูลและสร้างองค์ความรู้ • ส่งเสริมสิทธิชุมชนร่วมและการมีส่วนร่วมจัดการทรัพยากรฯ • พัฒนาระบบจัดการร่วมเพื่อการอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรฯ
ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ สร้างความ เข้มแข็งภาคประชาชน ปฏิรูปกฎหมายกฎระเบียบ สร้างภาคราชการ ให้มีธรรมาภิบาล • พัฒนาระบบ ราชการให้ทันสมัย • ศึกษาทบทวนกฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม • ส่งเสรมการรวมกลุ่มสร้างเครือข่ายภาคประชาชนให้เข้มแข็ง โปร่งใส มีประสิทธิภาพสูง มีธรรมาภิบาล • สร้างความเข้มแข็งของกลไกบังคับใช้กฎหมาย • สร้างความเข้มแข็งให้กลไกตรวจสอบภาคประชาชน พัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตย • พัฒนารัฐวิสาหกิจให้โปร่งใสพร้อมรับการตรวจสอบ • สร้างวัฒนธรรมสันติวิธี • ปลูกฝั่งจิตสำนึกค่านิยม ประชา ธิปไตย ธรรมาภิบาล ภาคเอกชน กระจายอำนาจสู่ ภูมิภาคท้องถิ่น/ ชุมชน • พัฒนาภาวะผู้นำที่มีธรรมาภิบาล • พัฒนาการเมืองให้โปร่งใส • ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อผู้เกี่ยวข้องและสังคม • ปรับโครงสร้างกลไก การจัดสรรทรัพยากรให้ท้องถิ่น มีอำนาจตัดสินใจเพิ่มขึ้น รักษาและเสริมสร้างความมั่นคง • สร้างความเข้าใจกับทุกภาคส่วนเกี่ยวกับการดูแลธุรกิจที่ดี • พัฒนาศักยภาพกองทัพเพื่อการป้องกันประเทศ • ให้ท้องถิ่นรับผิดชอบ จัดบริการสาธารณะตอบสนองความต้องการ ของประชาชน • สนับสนุนการจัดทำยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม
การจัดทำ “ แผนงาน / โครงการ” คือการตอบคำถามว่า สิ่งที่จะต้องดำเนินการในแต่ละ กลยุทธ์มีอะไรบ้าง แล้วนำมาแยกเป็น 1. ประเภทงานประจำ 2. ประเภทงานพัฒนางานประจำ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล 3. ประเภทงานใหม่ / งานริเริ่มที่สำคัญ ( Flagship Project) แผนงาน / โครงการ เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำ • การวิเคราะห์งานในลักษณะ Value Chain / Cluster
การจัดทำ “ แผนงาน / โครงการ” (ต่อ) วิธีการจัดทำ วิเคราะห์ว่าถ้าจะดำเนินการตามกลยุทธ์ให้ประสบผลสำเร็จตามเป้าประสงค์มีกลุ่มงาน (Cluster) ที่ต้องดำเนินการอะไรบ้าง กลยุทธ์ เป้าประสงค์ กลุ่มงาน กลุ่มงาน งานประจำ งานพัฒนางานประจำ งานใหม่ / งานริเริ่ม
บริบทการเปลี่ยนแปลง และผลกระทบ • เศรษฐกิจภาคอื่น • ขยายตัวสูงกว่าอีสาน • (4.4% กับ 5.7%) • แรงงานอพยพ • ~ 8-9 แสนคน/ปี • เหลือเด็ก/คนแก่ • ขาดผู้ดูแล • ครอบครัว/ชุมชน • อ่อนแอ • โครงสร้าง ปชก.เปลี่ยน • ปี55 เด็ก/แรงงานลด • คนแก่เพิ่ม • อัตราพึ่งพิงเกิน 50% • แต่ผลิตภาพแรงงาน • ยังต่ำ • คชจ./รายได้ เพิ่ม • การออมลดลง • ไม่มั่นคง • ความยากจน • เอทานอล 17 แห่ง • (4.7 ล้านลิตร/วัน) • มันส่งออกโต 26.6% • (4.3 หมื่นล้านบาท) • ยางส่งออกเพิ่ม 38% • ต้องการมันเพิ่ม • (4.8 ล้านตัน/ปี) • อ้อย ยาง เพิ่ม • การใช้ที่ดินเปลี่ยน • การทำนาลดลง • ป่ายาง ไร่มัน อ้อยเพิ่ม • ความมั่นคงด้าน • อาหารลดลง • ความหลากหลาย • ทางชีวภาพลด • อุตสาหกรรม • ขยายตัว 10-20% • (labor intensive) • แรงงานออกจาก • ภาคเกษตร • พึ่งเครื่องจักรมาก • ทำนาหว่าน • ผลผลิตต่ำ • ต้นทุนผลิตสูง • ความมั่นคงด้าน • อาหารลด • การค้ากับเพื่อนบ้าน • ขยายตัว 14.8% • EWECเสร็จกว่า50% • เวียดนามโตเร็ว • การลงทุนตาม • ชายแดนเพิ่ม • ย้ายฐานเข้าเพื่อนบ้าน • เคลื่อนย้ายสินค้า/คน • แรงงาน/ยาเสพติด • ชุมชนชายแดนโต • โรคติดต่อเพิ่ม • ความไม่ปลอดภัย • ธรรมชาติแปรปรวน • ทรัพยากรเสื่อมสภาพ • การเกษตรเสี่ยงภัย • ผลิตภาพการผลิตต่ำ • เกิดความไม่มั่นคง • ด้านรายได้ • ด้านอาหาร • ความยากจน
การจัดทำ “ แผนงาน / โครงการ” (ต่อ) ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องรู้ • โครงการที่เป็น Flagship Project ตามยุทธศาสตร์เฉพาะ ด้าน/ รายสาขาระดับชาติ
ระบบงบประมาณแผนมุ่งเน้นผลงานเชิงยุทธศาสตร์ระบบงบประมาณแผนมุ่งเน้นผลงานเชิงยุทธศาสตร์ “ เน้นความเชื่อมโยงระหว่างผลลัพธ์ และผลผลิตซึ่งเป็นผลงานที่ต้องการจากการใช้งบประมาณ ( Results Based Budgeting ) แล้วจึงกำหนดจำแนกผลงานออกเป็นโครงสร้างของกิจกรรม ( Work Breakdown Structure ) และจำแนกต่อเป็นชนิดของกิจกรรมหรือรายละเอียดของกิจกรรม ”
แผนงาน/ โครงการ/ กิจกรรม กลยุทธ์ Outcome Outcome หลักคิดในการจัดทำงบประมาณแผนมุ่งเน้นผลงานเชิงยุทธศาสตร์ Impact ประเด็นยุทธศาสตร์ Outcome Outcome Output Output Output
กระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอกระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอ 1. คณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอจัดทำแผนพัฒนา อำเภอที่ระบุรายละเอียดถึงระดับการกำหนด “กลยุทธ์” ใน แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอกระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอ 2. จัดตั้งคณะทำงานเพื่อจัดทำแผนงาน/โครงการในแต่ละกลยุทธ์ โดย คณะทำงานมีหน้าที่ 2.1 กำหนดผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง / ผู้มีส่วนได้เสียในแต่ละกลยุทธ์ 2.2 จัดระดมความคิดเห็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง / เพื่อกำหนดงาน / กิจกรรมที่จะต้องดำเนินการใน 3 ลักษณะ ( 1 ) งานประจำ ( 2 ) งานพัฒนางานประจำ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล ( 3 ) งานใหม่ / งานริเริ่มสำคัญ ( Flagship Project )
กระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอกระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอ 2.3 นำงานทั้ง 3 ประเภทมากำหนดแหล่งที่มาของงบประมาณ ( 1 ) ประเภทที่จะใช้งบปกติของส่วนราชการ คือ ( 1.1 ) งานประจำ ( 1.2 ) งานพัฒนางานประจำ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล ผลที่ได้คือ แผนงาน / โครงการที่จะขอรับการสนับสนุนจากส่วนราชการ ( 2 ) ประเภทที่จะใช้งบประมาณพิเศษ คือ • งานพัฒนางานประจำ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล ที่มีความสำคัญ • งานใหม่ / งานริเริ่มสำคัญ ( Flagship Project ) ผลที่ได้คือ แผนงาน / โครงการที่จะขอรับการสนับสนุนตามคำของบประมาณ รายจ่ายประจำปีของจังหวัด แผนงาน / โครงการที่จะขอรับการสนับสนุนจากเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอกระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอ 3. คณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอประมวลสรุปแผนงาน / โครงการที่ได้จากการดำเนินงานของคณะทำงานตามข้อ 2 จัดทำแผนพัฒนาอำเภอที่ระบุรายละเอียดถึงระดับแผนงาน / โครงการ แล้วนำมาจัดการรับฟังความเห็นจากทุกภาคส่วน เพื่อทบทวน / ปรับปรุงอีกครั้งหนึ่งก่อนส่งให้จังหวัด
กระบวนการจัดแผนพัฒนาจังหวัดกระบวนการจัดแผนพัฒนาจังหวัด 1. คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ( ก.บ.จ. ) ประมวลสรุปแผนพัฒนาอำเภอของทุกอำเภอ จัดทำเป็นแผนพัฒนาจังหวัด 2. ก.บ.จ. นำแผนพัฒนาจังหวัดเข้าสู่กระบวนการรับฟังความ คิดเห็นจากทุกภาคส่วน