1 / 28

แผนงานสนับสนุนระบบบริการฟื้นฟู สมรรถภาพ ด้านการแพทย์

การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557. เสนอในการ ประชุมชี้แจงจังหวัด วันที่ 10-11 ตุลาคม 2556. แผนงานสนับสนุนระบบบริการฟื้นฟู สมรรถภาพ ด้านการแพทย์. โดย นายธวัช เหลี่ยมสมบัติ สปสช.เขต 4 สระบุรี. การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 255 7. สิ่งที่แตกต่างจากปี 2556.

lore
Download Presentation

แผนงานสนับสนุนระบบบริการฟื้นฟู สมรรถภาพ ด้านการแพทย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ปีงบประมาณ 2557 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด วันที่ 10-11 ตุลาคม 2556 แผนงานสนับสนุนระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ โดย นายธวัช เหลี่ยมสมบัติ สปสช.เขต 4 สระบุรี

  2. การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557

  3. สิ่งที่แตกต่างจากปี 2556

  4. ข้อมูลพื้นที่ ประชากร ผู้สูงอายุ และคนพิการณ กรกฎาคม 2556 ที่มา : ข้อมูลประชากร สปสช.

  5. ข้อมูลคนพิการ ท74 จำแนกประเภท รายจังหวัด ณ ก.ค.56

  6. ข้อมูลบุคลากรนักกายภาพบำบัดปี 2556

  7. กรอบการบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ปี 2557 เหมือนปี2556 งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (14.95 บาทต่อผู้มีสิทธิ / 730.337 ลบ. POP UC = 48.852 ล้านคน งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (ไม่น้อยกว่า 13.45 บาท/657.059 ลบ.) งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ (ไม่เกิน 1.50 บาท/73.278 ลบ.) • สำหรับหน่วยบริการองค์กรคนพิการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด • ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการตามความพร้อม • ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล • ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับอปท. • ส่งเสริมกำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ • ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนาองค์ความรู้ • สำหรับหน่วยบริการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด • ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ(จัดหา ผลิต ซ่อม) • ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการผู้สูงอายุ ผู้ป่วย sub acute(บริการผู้ป่วย OPD และในชุมชน) • ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ

  8. กรอบการบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ปี 2557 เขต 4 สระบุรี เหมือนปี2556 งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (14.95 บาทต่อผู้มีสิทธิ / 51,658,771ลบ. POP UC = 3,272,029ล้านคน งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (ไม่น้อยกว่า 13.45 บาท/41,763,082บาท) งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ (ไม่เกิน 1.50 บาท/4,097,908 บาท) • สำหรับหน่วยบริการองค์กรคนพิการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด • ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการตามความพร้อม • ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล • ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับอปท. • ส่งเสริมกำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ • ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนาองค์ความรู้ • สำหรับหน่วยบริการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด • ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ(จัดหา ผลิต ซ่อม) • ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการผู้สูงอายุ ผู้ป่วย sub acute(บริการผู้ป่วย OPD และในชุมชน) • ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ

  9. การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพและอุปกรณ์การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพและอุปกรณ์ และการบันทึกข้อมูลลงในโปรแกรม ผู้สูงอายุ SUB ACUTE คนพิการ ท.74 การให้บริการฟื้นฟู 9 ด้าน การให้บริการกายอุปกรณ์ โดยทีมสหวิชาชีพฟื้นฟูฯ กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด พฤติกรรมบำบัด จิตบำบัด การฟื้นฟูการได้ยิน การฟื้นฟูการเห็น การประเมินและแก้ไขการพูด Early Intervention Phenol block อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการทั่วไป อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการราคาสูง 7 รายการ 2501 เครื่องช่วยฟังเด็ก 2502 เครื่องช่วยฟังผู้ใหญ่ 8801 รองเท้าคนพิการขนาดเล็ก 8802 รองเท้าคนพิการขนาดกลาง 8803 รองเท้าคนพิการขนาดใหญ่ 8804 รองเท้าคนพิการขนาดพิเศษ 8805 ค่าดัดแปลงรองเท้าคนพิการ โปรแกรมรายงานการให้บริการและอุปกรณ์ ภายใน 30 วัน

  10. รายการกิจกรรมการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์รายการกิจกรรมการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ สำหรับคนพิการและผู้ป่วยระยะเฝ้าระวัง (Sub acute) หมายเหตุ : ขนาดของกลุ่ม = สมาชิกประมาณ 7 – 12 คน

  11. งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการงบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ • 1) ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ • เฉพาะบริการผู้ป่วยนอก (OPD)และในชุมชน • จ่ายตามผลงานการให้บริการภายใต้กรอบวงเงินที่ได้รับจัดสรร ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และอัตราที่กำหนด ภายใต้การบริหารจัดการของเขต • เกณฑ์การจัดทำข้อมูลเพื่อขอรับการจัดสรร • - ข้อมูลส่วนบุคคล, สิทธิUC, วดป.ที่ให้บริการ • - ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD-10 • - ใช้รหัสหัตถการตาม ICD-9 • การส่งข้อมูล Internet : WWW.nhso.go.thเท่านั้น (ห้ามผ่านโปรแกรมอื่นๆ) • - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ • - ภายใน 30 วัน หลังให้บริการ อัตราการจ่ายค่าบริการ รายกลุ่ม - กิจกรรมบำบัด ครั้งละ 75บาท – การแก้ไขการพูด ครั้ง 75 บาท – ฟื้นฟูการเห็น ครั้ง 75 บาท - กระตุ้นพัฒนาการเด็ก ครั้งละ 75 บาท - พฤติกรรมบำบัดครั้งละ 150 บาท จิตบำบัด ครั้งละ 150 บาท ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ภาคผนวก 8.2 หน้า 357 - 367

  12. 2) ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (เฉพาะคนพิการ ท 74 เท่านั้น) •  เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการให้กับคนพิการ • ตามจำนวนเป้าหมายในแต่ละเขต และจ่ายไม่เกินราคากลางที่ สปสช. กำหนด •  ตามบัญชีรายการอุปกรณ์ที่ประกาศและรายการซ่อมแซม •  เกณฑ์การจัดทำข้อมูลเพื่อขอรับการจัดสรร • - ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD-10 • - ใช้รหัสหัตถการตาม ICD-9 • - ข้อมูลส่วนบุคคล, สิทธิ ท.74, วดป.ที่ให้บริการ • การส่งข้อมูล Internet : WWW.nhso.go.thเท่านั้น (ห้ามผ่านโปรแกรมอื่นๆ) • - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการและการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ • - ภายใน 30 วัน หลังการให้บริการ ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ภาคผนวก 8 หน้า 353 - 356

  13. แนวทางการจัดบริการเครื่องช่วยฟังสำหรับคนพิการแนวทางการจัดบริการเครื่องช่วยฟังสำหรับคนพิการ 1) การจัดบริการในกรณีปกติ หน่วยบริการที่ขอรับค่าใช้จ่ายในการให้บริการต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์และมาตรฐานการใส่เครื่องช่วยฟัง ที่สปสช.กำหนด - หน่วยบริการแจ้งความจำนงการให้บริการตามแบบฟอร์มที่สปสช.กำหนด (เฉพาะหน่วยบริการใหม่) -สปสช.เขต ตรวจประเมินความพร้อมตามเกณฑ์ และรายงานผลหน่วยบริการ ที่ผ่านการตรวจประเมินความพร้อม  วงเงินสนับสนุนเครื่องช่วยฟัง 10% จากงบอุปกรณ์ฯที่สปสช.เขต ได้รับจัดสรร  เงื่อนไขการได้รับค่าใช้จ่าย - เมื่อมีรหัสโรค รหัสหัตถการตามที่กำหนด รหัสโรคหลัก H900, H903, H906, Z461 รหัสหัตถการ9548 (ถ้ามี +21 เฉพาะเด็ก) ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ภาคผนวก 8.7 หน้า 390 - 398

  14. แนวทางการจัดบริการเครื่องช่วยฟังสำหรับคนพิการแนวทางการจัดบริการเครื่องช่วยฟังสำหรับคนพิการ 2) การจัดบริการในโครงการนำร่อง - เป้าหมายการให้บริการเครื่องช่วยฟัง 1,000 เครื่อง - พื้นที่/เป้าหมาย หน่วยบริการที่มีความพร้อมและสนใจ คัดเลือกโดย สปสช. ส่วนกลางร่วมกับเขตและประสานหน่วยบริการแจ้งความจำนงเข้าร่วม โครงการ ภายในเดือน ธันวาคม 2556 - หน่วยบริการไม่ต้องสำรองจ่ายเงินก่อน - NECTEC/บริษัทผลิตจัดส่งเครื่องช่วยฟังให้หน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการ - สปสช. ร่วมกับ NECTEC ติดตามผลการดำเนินงานโครงการนำร่อง เขต 4 สระบุรี นำร่อง 2 แห่ง คือ รพ.พระนั่งเกล้า 2) รพ.ปทุมธานี ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ภาคผนวก 8.7 หน้า 390 - 398

  15. หน่วยบริการที่เขาร่วมโครงการและตรวจประเมินแล้ว ปี 56

  16. 3) ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์และฝึกทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว (O&M) เป็นค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการและองค์กรที่ร่วมดำเนินงานจัดบริการฝึกใช้ อุปกรณ์เครื่องช่วยที่จำเป็นให้กับคนพิการ เป้าหมาย 3,000 ราย  ค่าฝึกใช้อุปกรณ์และฝึกทักษะความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมฯ (O&M) รายละ 9,000 บาท จ่ายตามผลงานการให้บริการจริงจากหน่วยบริการ  ค่าพัฒนาและบริหารจัดการระยะเริ่มแรกศูนย์ละ 100,000 บาท การส่งข้อมูล - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 57 มีงบเพียง 900,000 บาท ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ภาคผนวก 8.3 หน้า 368 - 371

  17. หน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการฝึกทักษะ OM (ไม้เท้าขาว)

  18. กรอบระยะเวลาการจัดสรรงบ งวดที่ 1 จัดสรรล่วงหน้า 60%ภายในเดือน ธค.56 ประมาณการจากผลงานการให้บริการในปีที่ผ่านมา งวดที่ 2 จัดสรรจริงตามผลงานการให้บริการ ภายในเดือน สค.57 ใช้ผลงาน 3 เดือนสุดท้ายของปี 56 และผลงาน 9 เดือน ของปี 57 ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 หน้า 166 - 171

  19. งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพงบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ  เป็นการสนับสนุนเงินให้กับหน่วยบริการ และองค์กรคนพิการ เพื่อการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ • ครอบคลุมกิจกรรม • ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการตามความพร้อม • ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล • ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับอปท. • ส่งเสริมกำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ • ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนาองค์ความรู้ รูปแบบการจ่าย ตามแผนงาน/โครงการที่ได้รับการสนับสนุน เขตทำข้อตกลงกับจังหวัด จ่ายเงินครั้งเดียว องค์กรคนพิการ ทำข้อตกลงกับจังหวัด งบนี้ไม่รวมกับกองทุน อบจ. ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 หน้า 172 – 173 และ ผนวก 8.4,8.5 หน้า 372-377

  20. แนวทางการพิจารณาสนับสนุนและส่งเสริมหน่วยบริการ ปี 57 กลุ่มเป้าหมายและวงเงินสนับสนุน.....เน้นการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ 1) ศูนย์สุขภาพชุมชน/คลินิกชุมชนอบอุ่น/ รพ.สต. โครงการละ ไม่เกิน 30,000 – 50,000 บาท 2) รพช. โครงการละไม่เกิน 100,000 – 300,000 บาท ทั้งนี้ โดยความเห็นชอบของ อปสข. ระยะเวลาดำเนินการ เสนอโครงการ 1 ตค.56 – มีค.57 ดำเนินโครงการ ให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี ขอบเขตการดำเนินโครงการ ทำให้เกิดการพัฒนาและยะระดับแบบผสมผสาน เพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ 7 ประเภทความพิการ ทำให้เกิดการพัฒนาและยกระดับบริการที่บ้านและในชุมชน ร่วมกับ อปท. ทำให้เกิดการพัฒนาระบบฐานข้อมูลคนพิการและสามารถจัดบริการได้อย่างทั่วถึง ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ผนวก 8.4, หน้า 372 - 374

  21. แนวทางการพิจารณาสนับสนุนและส่งเสริมองค์กรคนพิการ ปี 57 กลุ่มเป้าหมายองค์กรที่สนับสนุน องค์กรของผู้บกพร่องทางการมองเห็น องค์กรของผู้บกพร่องทางการได้ยิน องค์กรของผู้บกพร่องทางการเคลื่อนไหว องค์กรของผู้บกพร่องทางจิตใจหรือพฤติกรรม องค์กรของผู้บกพร่องทางสติปัญญา องค์กรของผู้บกพร่องทางการเรียนรู้ องค์กรของผู้บกพร่องบุคคลออทิสติก ขอบเขตการดำเนินโครงการ ครอบคลุมการจัดอบรมหรือบริการในรูปแบบการฝึกอบรมทักษะการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการหรือการดูแลช่วยเหลือคนพิการในแต่ละประเภท วงเงินสนับสนุน (องค์กรฯในพื้นที่หรือภายในจังหวัด) งบประมาณไม่เกินโครงการละ 100,000 บาท ระยะเวลาดำเนินการ เสนอโครงการ 1 ตค.56 – มีค.57 ดำเนินโครงการ ให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี อย่างน้อย 3 ประเภท ความพิการ ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ผนวก 8.5 หน้า 375 - 377

  22. การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนและส่งเสริมพัฒนาระบบบริการ ปี 2557

  23. กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัดกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด  จัดสรรงบให้กองทุนตามจำนวนปชก.UC ของจังหวัด ในสัดส่วนที่เท่ากัน (จากงบอุปกรณ์/บริการฟื้นฟูฯ และงบส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการฟื้นฟูฯ)  กองทุนดำเนินงานตามประกาศหลักเกณฑ์กองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด เน้น - สนับสนุนให้มีศูนย์ผลิต และซ่อมกายอุปกรณ์ - การสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรคนพิการ - สนับสนุนการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพในชุมชนและคุณภาพชีวิต  การติดตามผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุนฯ ดูเอกสาร : คู่มือบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2557 ผนวก 8.6 หน้า 378 - 389

  24. การจัดตั้งกองทุนฟื้นฟุสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัดการจัดตั้งกองทุนฟื้นฟุสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด

  25. การกำกับติดตามผลการดำเนินงานการกำกับติดตามผลการดำเนินงาน • การกำกับติดตามในด้าน - การจัดสรรและเบิกจ่ายงบกองทุนส่วนกลาง เขต - ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย ตัวชี้วัด รายไตรมาส รายปี • เครื่องมือ/วิธีการกำกับติดตาม - KPI - การตรวจเยี่ยม/นิเทศ/การติดตามในพื้นที่ของเขต/ ส่วนกลาง/คณะอนุกรรมการ/คณะกรรมการ

  26. ข้อมูลการกำกับติดตาม

  27. ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI

  28. หนักเท่าไหร่? เราก็จะต้องช่วยกัน ขอบคุณครับ

More Related