1 / 30

การป้องกันอุบัติเหตุ

การป้องกันอุบัติเหตุ. 230-334 Safety in Chemical Operations. หลักการพื้นฐานในการป้องกันอุบัติเหตุ. 1. การค้นหาสาเหตุ ( Discover Causes ). สาเหตุของการเกิด อุบัติเหตุ อันตรายที่มีอยู่ในปัจจุบันซึ่งอาจจะเกิดอุบัติเหตุเกิดขึ้น ได้

lorant
Download Presentation

การป้องกันอุบัติเหตุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การป้องกันอุบัติเหตุ 230-334 Safety in Chemical Operations

  2. หลักการพื้นฐานในการป้องกันอุบัติเหตุหลักการพื้นฐานในการป้องกันอุบัติเหตุ

  3. 1. การค้นหาสาเหตุ ( Discover Causes ) • สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ • อันตรายที่มีอยู่ในปัจจุบันซึ่งอาจจะเกิดอุบัติเหตุเกิดขึ้นได้ • สอบสวนทุกครั้งที่เกิดอุบัติเหตุ เเละจดบันทึกไว้เพื่อวิเคราะห์

  4. การควบคุมสาเหตุทางสภาพเเวดล้อม( Control Environment Causes ) • เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ • สภาพทางฟิสิกส์ เคมี ฯลฯ ที่รู้สึกเเละสัมผัส • เเก้ไขสิ่งชำรุดเเละใช้อุปกรณ์ความปลอดภัยจากแหล่งที่เชื่อถือได้ปรับปรุงสถานที่ทำงาน เช่น ระบบเเสงสว่าง การถ่ายเทอากาศ

  5. 3. การควบคุมสาเหตุทางประพฤติ ( Control Behavioristic Causes ) • การตรวจตราดูเเล • การวิเคราะห์งาน • การบริหารงานบุคคล • การบรรจุงาน • การฝึกอบรม • ระเบียบวินัย • การตรวจสุขภาพ

  6. 4. กิจกรรมส่งเสริม ( Supplementary Activities ) • คู่มือทำงาน • วารสาร โปสเตอร์ สไลด์ ภาพยนตร์ • ประชุม • การประกวด • ตู้รับความคิดเห็น

  7. 5. การติดตามผล ( Follow Up ) • เป็นระยะ ๆ • เป็นประจำ • เมื่อมีการเเก้ไขปรับปรุง

  8. หลักการ 3E ในการป้องกันอุบัติเหตุ • Engineering : การใช้ความรู้ด้านวิศวกรรมศาสตร์ ในการคำนวณเเละออกเเบบเครื่องจักรเครื่องมือ ที่มีสภาพการ ใช้งานที่ปลอดภัยที่สุด การติดตั้งเครื่องป้องกันอันตรายให้เเก่ ส่วนที่เคลื่อนไหวหรืออันตรายของเครื่องจักร

  9. Education : การให้การศึกษาหรือการฝึกอบรม หรือเเนะนำคนงาน หัวหน้าคนงาน ตลอดจนผู้เกี่ยวข้อง ในการทำงานให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุเเละเสริมสร้างความปลอดภัย

  10. Enforcement : การกำหนดวิธีการทำงาน อย่างปลอดภัย เเละมาตรการควบคุมบังคับ ให้คนงาน ปฏิบัติตามเป็นระเบียบปฏิบัติที่ต้องประกาศให้ทราบ ทั่วกัน หากผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามจะต้องถูกลง โทษ เพื่อให้เกิดความสำนึก เเละหลีกเลี่ยงการทำงานที่ ไม่ถูกต้องหรืออันตราย

  11. กิจกรรม 5ส • สะสาง ( SEIRI ) • สะดวก( SEITON ) • สะอาด ( SEISO ) • สุขลักษณะ ( SEIKETSU ) • สร้างนิสัย( SHITSUKE )

  12. บทบาทของเเต่ละฝ่ายในการป้องกันอุบัติเหตุ ฝ่ายจัดการหรือเจ้าของกิจการ • มีความตั้งใจจริงต่อการรักษาความปลอดภัย เเละป้องกันอุบัติเหตุ • จัดการสอนหรืออบรมการทำงานที่ถูกวิธี • รับผิดชอบต่อการสร้างสภาพเเวดล้อมของการทำงานให้ปลอดภัย • ปฏิบัติตามกฎหมายเเละออกระเบียบเพื่อความปลอดภัย

  13. ฝ่ายหัวหน้าคนงานเเละวิศวกรฝ่ายหัวหน้าคนงานเเละวิศวกร • เเนะนำให้ความรู้คนงานเเละเเก้ไขการทำงานที่ไม่ปลอดภัย • สนับสนุนคนงานเเละกระตุ้นให้สนใจต่อเรื่องการป้องกันอุบัติเหตุ • เสนอฝ่ายบริหารให้ปรับปรุงเเก้ไขสภาวะต่าง ๆ ที่ไม่ปลอดภัย

  14. ฝ่ายคนงาน • ปฏิบัติตามกฎ ข้อบังคับ เเละระเบียบเกี่ยวกับความปลอดภัย โดยเคร่งครัด • รายงานสภาวะทำงานหรือสิ่งเเวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยเเก่ หัวหน้างาน • เสนอความคิดเห็นเพื่อประโยชน์ในการทำงานเเละ ความปลอดภัย

  15. ความหมายของ 5ส • สะสาง : การเเยกให้ชัดระหว่างของที่จำเป็นกับของที่ไม่ จำเป็นให้ขจัดทิ้งไป • สะดวก : การจัดวางสิ่งของให้เป็นระเบียบเรียบร้อยอยู่เสมอ ง่ายต่อการนำไปใช้เเละเก็บคืนที่เดิม • สะอาด : ทำความสะอาดสถานที่เเละอุปกรณ์เครื่องใช้ จำเป็น • สุขลักษณะ : สภาพที่สะอาดหมดจดถูกสุขลักษณะโดยการรักษา เเละปฏิบัติ 3 ข้อข้างต้นให้คงสภาพหรือดีขึ้นเสมอ • สร้างนิสัย : การปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กำหนดขึ้นมาจนติดนิสัย

  16. กิจกรรม 5 ส เป็นพื้นฐานของการบริหารการผลิตอย่างเเท้จริง ถ้าเเบ่งปัจจัยการผลิตเป็น 3M คือ Man , Material เเละ Machine ออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มเเรกเป็นสิ่งมีชีวิตคือ คน อีกกลุ่มเป็นสิ่งไม่มีชีวิต คือ วัสดุเเละเครื่องจักรจะเห็นว่าการผลิตที่มีประสิทธิภาพจะเกิดขึ้นเมื่อปัจจัยการผลิตทั้งสองกลุ่ม ได้รับการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพโดยมีกิจกรรม 5 ส เป็นพื้นฐานในการจัดการ

  17. คำถาม • ปัจจุบันอุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อยู่เสมอ การหาทางป้องกันไม่ให้เหตุการณ์เหล่านั้นเกิดขึ้นได้อีกจึงเป็นเรื่องที่จำเป็นเป็นอย่างยิ่ง สิ่งที่ควรทำก็คือค้นหาสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุนั้น ๆ รวมถึงอุบัติเหตุในด้านต่าง ๆที่อาจจะเกิดขึ้นได้อีก ขั้นตอนที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งสำหรับผู้ที่ทำหน้าที่นี้ในการค้นหาสาเหตุพึงปฏิบัติคือขั้นตอนใด

  18. เป็นที่ทราบกันดีว่าหลักการป้องกันอุบัติเหตุวิธีหนึ่งที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันก็คือหลักการ 3E และE Engineering ก็เป็นการใช้ความรู้ด้านวิศวกรรมศาสตร์ เข้ามาเกี่ยวข้อง หากนักเรียนพบว่าในงานโรงงานแห่งหนึ่งมักมีคนงานในโรงงานได้รับบาดเจ็บอันเนื่องมาจาจากเครื่องจักรในโรงงานนักเรียนจะนำความรู้ในหลักการข้างต้นมาใช้ในการแก้ปัญหาดังกล่าวได้อย่างไร

  19. หากนักเรียนเป็นวิศวกรในโรงงานแห่งหนึ่งซึ่งเพิ่งได้รับการบรรจุงานและพบว่าปัญหาอย่างหนึ่งในโรงงานแห่งนี้ก็คือทำงานในสภาวะงานที่ไม่ปลอดภัยและคนงานมองเรื่องการได้รับอุบัติเหตุในการทำงานเป็นเรื่องของดวงและโชคทั้ง ๆ ที่พบว่าปัญหาเหล่านี้สามารถแก้ปัญหาได้นักเรียนจะใช้บทบาทของนักเรียนเข้ามาใช้ในการแก้ปัญหาเหล่านี้ได้อย่างไรบ้าง

  20. ในโรงงานแห่งหนึ่งย่อมประกอบไปด้วยบุคคลหลาย ๆ ฝ่าย ซึ่งแต่ละฝ่ายย่อมมีบทบาทหน้าที่เป็นของตนเอง แต่บทบาทข้อหนึ่งที่ทุก ๆ ฝ่ายพึงกระทำร่วมกันเพื่อให้โรงงานนั้นก้าวไปสู่ทิศทางที่ดีขึ้นคือบทบาทในเรื่องใด

  21. หากนักเรียนเป็นฝ่ายบริหารของโรงงานแห่งหนึ่งกิจกรรม 5 ส เป็นพื้นฐานของการบริหารงานของที่นี่ หากต้องการให้งานที่ออกมามีประสิทธิภาพ ซึ่งตัวนักเรียนก็มีความรู้ในเรื่องหลักการ 3M อยู่บ้าง นักเรียนจะบริหารและจัดการงานของโรงงานนักเรียนโดยใช้หลักการ 3 M ประยุกต์ใช้กับหลักเดิมที่มีอยู่ได้อย่างไรบ้าง

  22. การป้องกันอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรม เป๋นหน้าท่ำคัญประการหนึ่งของฝ่ายบริหาร และมีความสำคัญมากเพราะเป็นการตัดไฟแต่ต้นลม ช่วยแก้ปัญหาการบริหารงานได้อย่างกว้างขวาง วิธีการป้องกันอุบัติเหตุที่กระทำกันมีหลายวิธีดังนี้

  23. การป้องกันอุบัติเหตุ • 1. โดยการออกกฏโรงงาน (Regulation)ให้มาตรฐานการทำงาน แนวทางปฏิบัติ การทดสอบ การดำเนินงานและหน้าที่ปฏิบัติต่าง ๆ ที่ถูกต้องและปลอกภัยในโรงงาน • 2. โดยการจัดทำมาตรฐาน(Standardization) กำหนดมาตรฐานของโครงสร้าง เครื่องจักรกลและขั้นตอนปฏิบัติงานต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับคุณสมบัติทางความแข็งแรงของวัสดุ

  24. การป้องกันอุบัติเหตุ • 3 โดยการตรวจสอบ เพื่อติดตามผลการปฏิบัติงานของคนงาน เพื่อให้สอดคล้องกับคุณสมบัติทางความแข็งแรงของวัสดุ • 4. โดยการวิจัยทางเทคนิค เป็นการศึกษาวิจัยคุณสมบัติของวัสดุต่าง ๆ โครงสร้างการใช้งานของเครื้องจักรต่าง ๆ วิธีการปฏิบัติงานและการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลต่าง ๆ ที่มีผลต่อความปลอดภัยของคนงาน

  25. การป้องกันอุบัติเหตุ • 5 โครงการวิจัยทางการแพทย์ เป็ฯการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับร่างกายคนงานและความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะที่เหมาะสมกับสภาพความพร้อมของร่างกายในการทำงาน เพื่อนำข้อมูลมาประกอบในการออกแบบสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมแก้การปฏิบัติงาน

  26. การป้องกันอุบัติเหตุ • 6. โดยการวิจัยทางจิตศาสตร์ ศึกษาหาต้นเหตุและความสัมพันธ์ระหว่างจิตใจคนงานกับการเกิดอุบัติเหตุในการทำงาน • 7. โดยการวิจัยทางสถิติ เป็นการศึกษาโดยการรวบรวมข้อมูลและวิจัยหาแนวโน้มของการเกิดอุบัติเหตุและจุดที่มีการเกิดอุบัติเหตุได้มากที่สุด เพื่อทราบสาเหตุที่แท้จริงของการเกิดอุบัติเหตุในแบบต่าง ๆ

  27. การป้องกันอุบัติเหตุ • 8 โดยการให้การศึกษา โดยการสอนวิชาวิศวกรรมความปลอดภัยในมหาวิทยาลัย ในวิทยาลัยอาชีวศึกษาและในโรงงานอุตสาหกรรม • 9 โดยการฝึกอบรม โดยการอบรมคนงานทุกคนที่เข้ารับหน้าที่ เพื่อให้มีการทำงานที่ปลอดภัยที่สุด

  28. การป้องกันอุบัติเหตุ • 10 โดยการเชิญชวน ด้วยการใช้สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เพื่อสร้างความเคยชินและนิสัยการทำงานที่ดีแก่คนงานทั่วไป ที่อ่านหรือพบเห็นสื่อประชาสัมพันธ์เหล่านั้นเป็นประจำอยู่ทุกวัน • 11 โดยการประกันภัย ใช้การให้รางวัลชมเชยแก่คนงานที่ทำงานดีเด่น มีอุบัติเหตุเกิดน้อยที่สุด • 12 โดยการให้ระเบียบปฏิบัติสำหรับงานแต่ละชนิดโดยเฉพาะ

  29. การป้องกันอุบัติเหตุ ทั้ง 11ข้อแรกข้างต้นจะประสบความสำเร็จได้ก็ต่อเมื่อข้อที่ 12ได้รับการตอบสนองอย่างถูกต้องจากผู้ที่เกี่ยวข้อง

  30. เอกสารอ้างอิง วิฑูรย์ สิมะโชคดีและวีรพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์, วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัยในโรงงาน, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี่ (ไทย-ญี่ปุ่น), กรุงเทพฯ, ISBN 974-7948-85-3 อิสรา ธีระวัฒน์สกุล, 1996, วิศวกรรมความปลอดภัย, ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

More Related