1 / 23

ด.ญ.กวินนาฏ มีฤทธิ์ เลขที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 รายงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีพื้นฐาน 5

ประชาคมอาเซียน. ด.ญ.กวินนาฏ มีฤทธิ์ เลขที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 รายงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีพื้นฐาน 5 ปีการศึกษา 1/2555 โรงเรียนสตรีนครสวรรค์. สารบัญ. ประเทศไทย.

loman
Download Presentation

ด.ญ.กวินนาฏ มีฤทธิ์ เลขที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 รายงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีพื้นฐาน 5

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชาคมอาเซียน ด.ญ.กวินนาฏ มีฤทธิ์ เลขที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 รายงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีพื้นฐาน 5 ปีการศึกษา 1/2555 โรงเรียนสตรีนครสวรรค์

  2. สารบัญ

  3. ประเทศไทย ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติดลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดทะเลอันดามันและพม่า และทิศเหนือติดพม่าและลาว โดยมีแม่น้ำโขงกั้นเป็นบางช่วงเมืองหลวง : กรุงเทพมหานครภาษาราชการ : ภาษาไทย ส่วนภาษาอื่นที่มีการใช้อยู่บ้าง เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น เป็นต้นรัฐบาล : ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา และระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ประชากร : 65.98 ล้านคน (ปี พ.ศ. 2549) สกุลเงิน : บาท ตราแผ่นดิน สัตว์ประจำชาติ

  4. ภูมิประเทศ : ประเทศไทยมีสภาพทางภูมิศาสตร์ที่หลากหลาย ภาคเหนือประกอบด้วยเทือกเขาจำนวนมาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นที่ราบสูงภาคกลางเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งสายน้ำไหลลงสู่อ่าวไทย ภาคใต้มีจุดที่แคบลง ณ คอคอดกระแล้วขยายใหญ่เป็นคาบสมุทรมลายูภูมิอากาศ : ภูมิอากาศของไทยเป็นแบบเขตร้อน อากาศร้อนที่สุดในเดือนเมษายน-พฤษภาคม ยกเว้นภาคใต้ที่มีอากาศร้อนชื้นตลอดทั้งปี วัดพระแก้ว อาหาร

  5. ประเทศมาเลเซีย ที่ตั้ง : ตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ประกอบด้วยดินแดนสองส่วน คือมาเลเซียตะวันตก ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู และมาเลเซียตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว (กาลิมันตัน) พื้นที่ : 329,758 ตารางกิโลเมตรเมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมืองราชการ : เมืองปุตราจายาประชากร : จำนวน 26.24 ล้านคนภาษา : ภาษาราชการ คือ ภาษามาเลย์ นอกจากนี้มีการใช้ภาษาอังกฤษ จีน และทมิฬศาสนา : อิสลามหน่วยเงินตรา : ริงกิตมาเลเซีย ตราแผ่นดิน สัตว์ประจำชาติ

  6. ลักษณะภูมิประเทศ: มาเลเซียตะวันตก มีภูเขาทอดยาวทางตอนกลางเกือบตลอด เป็นอุปสรรคต่อการคมนาคม ทำให้มีที่ราบ 2 ด้าน ที่ราบด้านตะวันตกกว้างกว่า เป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ เขตปลูกยางพารา และขุดแร่ดีบุก มาเลเซียตะวันออก ส่วนใหญ่เป็นภูเขา ที่ราบสูงอยู่ทางตอนใน มีที่ราบย่อม ๆ อยู่ตามชายฝั่งทะเล ลักษณะภูมิอากาศ:ตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร มีอากาศร้อนชื้นแถบศูนย์สูตร อยู่ในอิทธิพลของลมมรสุม กรุงกัวลาลัมเปอร์ อาหาร ข้าวมันไก่

  7. เมืองหลวง : สิงคโปร์ พื้นที่ : ประกอบด้วยเกาะสิงคโปร์และเกาะใหญ่น้อยบริเวณใกล้เคียง 63 เกาะ มีพื้นที่ รวมทั้งสิ้น 682.7 ตารางกิโลเมตร (ประมาณเกาะภูเก็ต) ประชากร : จำนวน 4.35 ล้านคน (ในพ.ศ. 2548)ศาสนา : พุทธ (42.5%) อิสลาม (14.9%) คริสต์ (14.5%) ฮินดู (4%) ไม่นับถือศาสนา (25%)เชื้อชาติ : ประกอบด้วยชาวจีน (76.5%) ชาวมาเลย์ (13.8%) ชาวอินเดีย (8.1%) และอื่น ๆ (1.6%)ภาษา : มีมาลายูเป็นภาษาประจำชาติ และอังกฤษเป็นภาษาราชการ นอกจากนี้ยังมีการใช้ภาษาจีนกลาง และทมิฬ ประเทศสิงคโปร์ ตราแผ่นดิน เมอร์ไลออน

  8. ภูมิประเทศ :ภาคกลางและภาคตะวันตกเป็นเนินเขา ซึ่งเนินเขาทางภาคกลางเป็นเนินเขาที่สูงที่สุดของประเทศ เป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของสิงคโปร์ และภาคตะวันออกเป็นที่ราบต่ำ ชายฝั่งทะเลมักจะต่ำกว่าระดับน้ำทะเล ต้องมีการถมทะเลภาษา : มีมาลายูเป็นภาษาประจำชาติ และอังกฤษเป็นภาษาราชการ วันชาติ : 9 สิงหาคม (แยกตัวจากสหพันธรัฐมาเลเซีย เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2508)เข้าเป็นสมาชิกอาเซียน : 8 สิงหาคม 2510เงินตรา : ดอลลาร์สิงคโปร์

  9. ชื่อทางการ : เนการาบรูไนดารุสซาลาม แปลว่า ดินแดนแห่งความสงบสุขที่ตั้ง : ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว แบ่งเป็นสี่เขตคือ เขต Brunei-Muaraเขต Belaitเขต Temburongและเขต Tutongพื้นที่ : 5,765 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่ร้อยละ 70 เป็นป่าไม้เขตร้อน เมืองหลวง : บันดาร์เสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan)ประชากร : 370,00 คน ประเทศบรูไน ตราแผ่นดิน ยูดาน ซามบาล ซีไร เบอซานตา

  10. ภูมิอากาศ : อากาศโดยทั่วไปค่อนข้างร้อนชื้น มีปริมาณฝนตกค่อนข้างมาก อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส ภาษา : ภาษามาเลย์ (Malay หรือ BahasaMelayu) เป็นภาษาราชการรองลงมาเป็นภาษาอังกฤษและภาษาจีนศาสนา : ศาสนาประจำชาติคือ ศาสนาอิสลาม (67%) ศาสนาอื่น ๆ ได้แก่ ศาสนาพุทธ (13%) ศาสนาคริสต์ (10%) และฮินดูหน่วยเงินตรา : ดอลลาร์บรูไน ระบอบการปกครอง : สมบูรณาญาสิทธิราชย์

  11. ประเทศกัมพูชา พื้นที่ : พื้นที่ทั้งหมด 181,035 ตารางกิโลเมตร หรือมีขนาดประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศไทย เส้นเขตแดนโดยรอบประเทศยาวประมาณ 2,000 กิโลเมตร โดยมีเส้นเขตแดนติดต่อกับประเทศไทยยาว 798 กิโลเมตรสภาพภูมิอากาศ : ร้อนชื้น มีฤดูฝนยาวนาน อุณหภูมิโดยเฉลี่ย 20 - 36 องศาเซลเซียสเมืองหลวง : กรุงพนมเปญ (Phnom Penh)เขตการปกครอง : มี 4 กรุง ได้แก่ กรุงพนมเปญ กรุงไพลิน กรุงแกบ กรุงพระสีหนุ และ 20 จังหวัด ประชากร : 14.1 ล้านคน ตราแผ่นดิน อาม็อก

  12. ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญสภานิติบัญญัติ ภาษา : ภาษาเขมรเป็นภาษาราชการ ส่วนภาษาที่ใช้โดยทั่วไป ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส เวียดนาม จีน และไทยศาสนา : ศาสนาประจำชาติคือศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท (แยกเป็น 2 นิกายย่อย คือ ธรรมยุตินิกายและมหานิกาย) และศาสนาอื่นๆ อาทิ ศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์ หน่วยเงินตรา : เงินเรียล

  13. ประเทศลาว พื้นที่ : 236,800 ตารางกิโลเมตร (ประมาณครึ่งหนึ่งของประเทศไทย)เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทน์ประชากร : 5.6 ล้านคน (ปี 2548) ประกอบด้วยลาวลุ่มร้อยละ 68 ลาวเทิงร้อยละ 22 ลาวสูงร้อยละ 9 รวมประมาณ 68 ชนเผ่าศาสนา : ร้อยละ 75 นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 16-17 นับถือผี ที่เหลือนับถือศาสนาคริสต์ ประมาณ 100,000 คน) และอิสลาม (ประมาณ 300 คน)ภาษา : ภาษาลาวเป็นภาษาราชการรูปแบบการปกครอง : ระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์โดยพรรคการเมืองเดียว ตราแผ่นดิน สัตว์ประจำชาติ

  14. พระธาตุหลวง สะพานมิตรภาพไทยลาว การแบ่งเขตการปกครอง : แบ่งเป็น 16 แขวง และ 1 เขตปกครองพิเศษ (นครหลวงเวียงจันทน์) แขวงที่สำคัญได้แก่ เวียงจันทน์ สะหวันนะเขต หลวงพระบาง จำปาสัก คำม่วนวันชาติ : 2 ธันวาคมระบบเศรษฐกิจ : เริ่มปฏิรูปจากระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมสู่ระบบเศรษฐกิจเสรีการตลาด ตามนโยบาย “จินตนาการใหม่” เมื่อปี 2529สกุลเงิน : กีบ

  15. ประเทศเวียดนาม ชื่ออย่างเป็นทางการ: สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พื้นที่ : 331,033 ตารางกิโลเมตร (0.645 เท่าของประเทศไทย)เมืองหลวง : กรุงฮานอย (Hanoi) ประชากร : เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลกศาสนา : พุทธ (นิกายมหายาน)ภาษาราชการ : ภาษาเวียดนามรูปแบบการปกครอง : ระบอบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็นพรรคการเมืองเดียว ตราแผ่นดิน หมี่กะทิญวน

  16. สกุลเงิน :ด่อง อากาศ :กรุงฮานอยและบริเวณตอนเหนือของเวียดนามมีอากาศค่อนข้างหนาวเย็น และชื้นในช่วงเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม ดังนั้น ในช่วงเวลาดังกล่าวควรเตรียมเสื้อกันหนาวไปด้วย ช่วงเดือนมิถุนายน-ตุลาคม อากาศค่อนข้างร้อนจัด การคมนาคม:เวียดนามมีท่าอากาศยานขนาดใหญ่ 6 แห่ง คือ ท่าอากาศยานโนยบ่ายในกรุงฮานอย ท่าอากาศยานเติ่นเซินเญิ๊ต นครโฮจิมินห์ ท่าอากาศยานลองแท็งท่าอากาศยานจู๋ลาย ใน จ.กว๋างนาม กับท่าอากาศยานนครด่าหนัง

  17. ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ตั้ง : ทิศตะวันตกและทิศเหนือติดกับทะเลจีนใต้ ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก พื้นที่ 298,170 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 3 ใน 5 ของประเทศไทย) ประกอบด้วย 7,107 เกาะ ชายฝั่งทะเลยาว 34,600 กิโลเมตร อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 1,800 กิโลเมตร เมืองหลวง : กรุงมะนิลาประชากร : 88.7 ล้านคน (พ.ศ.2550)ภูมิอากาศ : อากาศเมืองร้อนภาษา : ฟิลิปิโน (Filipino) และอังกฤษเป็นภาษาราชการ ตราแผ่นดิน ดอกพุดแก้ว

  18. ศาสนา : โรมันคาธอลิกร้อยละ 83 โปรเตสแตนท์ร้อยละ 9 มุสลิมร้อยละ 5 พุทธและอื่น ๆ ร้อยละ 3 หน่วยเงินตรา :เปโซ ลักษณะภูมิประเทศ :เป็นหมู่เกาะของเทือกเขาหินใหม่ พื้นที่ทุกเกาะมีภูเขาเป็นแกนกลาง มีที่ราบอยู่น้อย เป็นที่ราบแคบ ๆ ที่ราบสำคัญ คือ ที่ราบตอนกลางของเกาะลูซอน เรียกว่า ที่ราบมะนิลา เป็นที่ราบที่ใหญ่ที่สุด ลักษณะภูมิอากาศ : มรสุมเขตร้อน ได้รับความชุ่มชื้นจากลมมรสุมทั้ง 2 ฤดูได้รับฝนจากลมพายุไต้ฝุ่น และดีเปรสชั่น

  19. ประเทศอินโดนีเซีย เมืองหลวง : ได้แก่ จาการ์ตา เมืองสำคัญ ได้แก่ จาการ์ตา สุราบายา บันดุง เมดาน เซมารัง ปาเลมบัง ที่ตั้ง : อินโดนีเซียมีพื้นที่ 5,193,250 ตารางกิโลเมตร เป็นแผ่นดิน 2,027,087 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่ทะเล 3,166,163 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศหมู่เกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วยเกาะใหญ่น้อยกว่า 17,508 เกาะ รวมอยู่ในพื้นที่ 4 ส่วน ประชากร : ประมาณ 220 ล้านคน ประกอบด้วยชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่มซึ่งพูดภาษาต่างกันกว่า 583 ภาษา ร้อยละ 61 อาศัยอยู่บนเกาะชวา ตราแผ่นดิน เสือเบงกอล

  20. ศาสนา : ชาวอินโดนีเซียร้อยละ 87 นับถือศาสนาอิสลาม ภาษา : ภาษาประจำชาติ ได้แก่ ภาษาอินโดนีเซีย ภูมิอากาศ : อากาศร้อนชื้นแบบศูนย์สูตร มี 2 ฤดู คือ ฤดูแล้ง (พฤษภาคม-ตุลาคม) และฤดูฝน (พฤศจิกายน-เมษายน) สกุลเงิน : รูเปียห์ (Rupiah) เขตการปกครอง : อินโดนีเซียแบ่งการปกครองเป็น 30 จังหวัด และเขตการปกครองพิเศษ 3 เขต ได้แก่ กรุงจาการ์ตา นครย็อกยาการ์ตา และจังหวัดอาเจห์

  21. ประเทศพม่า เมืองหลวง : เนปิดอพื้นที่ : 657,740 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 1.3 เท่าของไทย) ประชากร : 50.2 ล้านคน ภาษาราชการ: ภาษาพม่า ศาสนา : ศาสนาพุทธ รูปแบบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาลทหารภายใต้สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ สกุลเงิน : จ๊าด ตราแผ่นดิน ดอกประดู่

  22. ภูมิประเทศ:ส่วนใหญ่จะเป็นเทือกเขาสูงจากเหนือลงใต้ เพราะเป็นแนวเทือกเขาหิมาลัยสลับกับพื้นที่ที่เป็นที่ราบสูงมียอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศ คือ ยอดเขาคากาโบราซี ภูมิอากาศ:สภาพภูมิอากาศส่วนใหญ่ในบริเวณที่เป็นเทือกเขาสูงทางตอนกลางและตอนเหนือของประเทศ จะมีอากาศแห้ง และร้อนมากในฤดูร้อน ส่วนในฤดูหนาวอากาศจะเย็นมาก ตามชายฝั่งทะเลและบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำจะ แปรปรวนในช่วงเปลี่ยนฤดู

  23. จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ

More Related