1 / 56

บทบาทของกองทัพไทย ในการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ

บทบาทของกองทัพไทย ในการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ. ขอบเขตการบรรยาย. กล่าวนำ สหประชาชาติกับการรักษาสันติภาพ วิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์ด้านการรักษาสันติภาพ กองทัพไทยกับการรักษาสันติภาพ ยุทธศาสตร์การดำเนินบทบาทด้านการรักษาสันติภาพกองทัพไทย.

loe
Download Presentation

บทบาทของกองทัพไทย ในการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาทของกองทัพไทย ในการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ

  2. ขอบเขตการบรรยาย • กล่าวนำ • สหประชาชาติกับการรักษาสันติภาพ • วิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์ด้านการรักษาสันติภาพ • กองทัพไทยกับการรักษาสันติภาพ • ยุทธศาสตร์การดำเนินบทบาทด้านการรักษาสันติภาพกองทัพไทย

  3. “Why was the UN established, if not to act a benign policeman or doctor? Can we really afford to let each state be the judge of it own right, or duty, to intervene in another state’s internal conflict? If we do, will we not be forced to legitimize Hitler’s championship of Sudeten Germans, or Soviet intervention in Afghanistan? Most of us would prefer, I think – especially now that the Cold War is over – to see such decisions taken collectively, by an international institution whose authority is generally respected.”

  4. สถานการณ์ด้านความมั่นคงโลกสถานการณ์ด้านความมั่นคงโลก

  5. สหประชาชาติ กระบวนการรักษาสันติภาพมีพื้นฐานมาจากหลักการที่กำหนดไว้ใน UN Charter

  6. สหประชาชาติ • ระบบของสหประชาชาติ • สมาชิกสหประชาชาติ • องค์กรในสหประชาชาติ

  7. GENERAL ASSEMBLY TRUSTEESHIP COUNCIL SECURITY COUNCIL ECONOMIC AND SOCIAL COUNCIL SECRETARIAT INTERNATIONAL COURT OF JUSTICE The UN Six Principal Organs

  8. กลไกของสหประชาชาติ ในกระบวนการรักษาสันติภาพ • วัตถุประสงค์ และหลักการ • International peace and security • Friendly relations among nations • Cooperation in solving international problems • A centre for harmonizing the actions of nations

  9. องค์กรหลักด้านสันติภาพ และความมั่นคง

  10. กฎบัตรหมวดที่ให้อำนาจการรักษาสันติภาพกฎบัตรหมวดที่ให้อำนาจการรักษาสันติภาพ • หมวดที่ ๖ : Pacific Settlement of Disputes • หมวดที่ ๗ : Actions with Respect to threats to peace • หมวดที่ ๘ : Regional Arrangements

  11. วิวัฒนาการกระบวนการรักษาสันติภาพ • ยุคสงครามเย็น Classical Peacekeeping • ยุคหลังสงครามเย็น Agenda for Peace • Traditional Peacekeeping • ยุคปัจจุบัน Multidimensional Peacekeeping • Intervention ? • Preventive Diplomacy • Peacemaking • Peacekeeping • Peacebuilding

  12. กลไกการจัดตั้งภารกิจรักษาสันติภาพกลไกการจัดตั้งภารกิจรักษาสันติภาพ ภัยคุกคามต่อเสรีภาพ และความสงบสุขโลก สมัชชาใหญ่ฯ รับรองแผนประกอบทั้งหมด (ออกเป็นข้อมติฯ) งบประมาณ รับรองหลักการ คณะมนตรี ความมั่นคงฯ เลขาธิการฯ สำนักงาน เลขาธิการฯ (DPKO, DPA, DHA) • แนวความคิดในการปฏิบัติ • แผนการปฏิบัติงาน ประเทศสมาชิกฯ • แต่งตั้ง SRSG, FC, Chief MILOB, Chief CIVPOL ภัยคุกคามต่อเสรีภาพ และความสงบสุขโลก

  13. วิเคราะห์แนวโน้มกระบวนการ สันติภาพสหประชาชาติในปัจจุบัน

  14. ลำดับความเร่งด่วนในการปรับปรุงลำดับความเร่งด่วนในการปรับปรุง • การบริหารภารกิจฯ ให้มีประสิทธิภาพ ๑. บุคลากร ๒. หลักนิยม ๓. องค์กร ๔. ทรัพยากร • การปิดภารกิจที่หมดความจำเป็น

  15. วิเคราะห์สถานการณ์โลกแนวโน้ม และผลกระทบ

  16. วิเคราะห์สถานการณ์โลก แนวโน้ม และผลกระทบ • การขยายตัวของภารกิจรักษาสันติภาพ • การพัฒนากระบวนการรักษาสันติภาพไปสู่องค์กร ความร่วมมือระดับภูมิภาค ในภารกิจรักษาสันติภาพนอกกรอบสหประชาชาติ • ปัจจัยอื่นๆ ที่สำคัญ

  17. สรุปแนวโน้มสถานการณ์โลก ในทศวรรษหน้า

  18. ผลกระทบต่อประเทศต่างๆ และต่อประเทศไทย

  19. กองทัพไทยกับการรักษาสันติภาพกองทัพไทยกับการรักษาสันติภาพ

  20. หลักการและเหตุผล • ประเทศไทยมีพันธกรณีในฐานะเป็นชาติสมาชิก • ไทยเป็นสมาชิกระบบกองกำลังเตรียมพร้อม (UNSAS) • กองทัพไทยเป็นเครื่องมือหนึ่งของรัฐในการดำเนินนโยบายการเมืองระหว่างประเทศ

  21. หน่วยรับผิดชอบ การปฏิบัติการรักษาสันติภาพของกองทัพไทย ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ กรมยุทธการทหาร

  22. ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อสันติภาพศูนย์ปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ กรมยุทธการทหาร กองแผนและโครงการ กองปฏิบัติการ กองฝึกและศึกษา แผนกธุรการ

  23. บทบาทและหน้าที่ • ศูนย์ฝึกการรักษาสันติภาพนานาชาติในระดับภูมิภาค • ฝ่ายอำนวยการด้านการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ • ศูนย์กลางวิทยาการด้านการรักษาสันติภาพ

  24. สำนักงานที่ปรึกษาทางทหารประจำคณะทูตถาวร แห่งประเทศไทยประจำสหประชาชาติ • จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นกลไกของกองทัพและรัฐบาล ในการประสานงานกับสหประชาชาติในเรื่องเกี่ยวกับการปฏิบัติการทางทหารในภารกิจรักษาสันติภาพ • ปัจจุบันนายทหารที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ ได้แก่ พ.อ.รวมพล มีชูอรรถ

  25. กระบวนการตัดสินใจ ในการสนับสนุนภารกิจรักษาสันติภาพ โดยทั่วไปแบ่งเป็น ๒ กรณี ดังนี้ • กรณีที่ ๑ กห. ริเริ่มและเสนอให้รัฐบาลพิจารณาสนับสนุน • กรณีที่ ๒ รัฐบาลมอบนโยบายให้ กห. พิจารณาสนับสนุน

  26. กระบวนการในการตัดสินใจเข้าร่วมปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพ ของสหประชาชาติในกรณี กห. ริเริ่มและเสนอให้รัฐบาลพิจารณาสนับสนุน สหประชาชาติ เสนอคำขอ แจ้งตอบ คณะทูตถาวร แจ้งตอบ รายงานการขอรับการสนับสนุน กระทรวงการต่างประเทศ ขอทราบท่าที และความพร้อม อนุมัติ/ ไม่อนุมัติ อนุมัติ/ ไม่อนุมัติ ขัดข้อง ขอทราบท่าที และความพร้อม ขอทราบท่าที กห. บก.ทหารสูงสุด ครม. สลค. ขัดข้อง นำเรื่องเข้าสู่การพิจารณา สภากลาโหม กระบวนการพิจารณาร่วม สถานการณ์ด้านความปลอดภัย ผลกระทบต่อภารกิจหลัก กต. สมช. สถานภาพภารกิจ ความพร้อมด้านกำลังพล และยุทโธปกรณ์ นโยบายที่เกี่ยวข้อง สำนักงบประมาณ ก.ค. ท่าทีรัฐบาล ผลประโยชน์ต่อกองทัพ บก.ทหารสูงสุด ผลกระทบด้านความมั่นคง

  27. กระบวนการในการตัดสินใจเข้าร่วมปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพ ของสหประชาชาติในกรณีรัฐบาลมอบนโยบายให้ กห. พิจารณาสนับสนุน สหประชาชาติ เสนอคำขอ แจ้งตอบ คณะทูตถาวร แจ้งตอบ รายงานการขอรับการสนับสนุน กระทรวงการต่างประเทศ สนผ.กห. นำเรื่องเข้าสู่การพิจารณา สมช. ความพร้อมของกองทัพ กค. คณะกรรมการพิจารณาการเข้าร่วมในภารกิจรักษาสันติภาพ สหประชาชาติ โครงสร้างกำลัง สตช. บก.ทหารสูงสุด ประมาณการ ความต้องการงบประมาณ ไม่เห็นชอบในหลักการ เห็นชอบในหลักการ สำนักงบประมาณ อนุมัติ / ไม่อนุมัติ อนุมัติ / ไม่อนุมัติ บก.ทหารสูงสุด กห. สลค. ครม.

  28. การเข้าร่วมในภารกิจรักษาสันติภาพของกองทัพไทยการเข้าร่วมในภารกิจรักษาสันติภาพของกองทัพไทย ภายใต้กรอบ UN ๘ ภารกิจ ภายใต้กรอบความร่วมมือระดับภูมิภาค ๒ ภารกิจ ภายใต้กรอบ Coalition ๒ ภารกิจ ภายใต้กรอบการปฏิบัติการเพื่อมนุษยธรรม ๑ ภารกิจ

  29. ๑.ภารกิจในกองบัญชาการสหประชาชาติใน คาบสมุทรเกาหลี (United Nations Command : UNC)

  30. ๒.กองกำลังสังเกตการณ์ของสหประชาชาติประจำชายแดนอิรัก – คูเวต (UNIKOM : United Nations Iraq – Kuwait Observation Mission)

  31. กองกำลังรักษาความปลอดภัยของสหประชาชาติ ในประเทศอิรัก(UNGCI : United Nations Guard Contingent in Iraq)

  32. การจัด พัน.ช.ฉก.ที่ ๒ เพื่อการเก็บกู้ระเบิดในประเทศกัมพูชา (UNTAC : United Nations Transitional Authority in Cambodia) ในประเทศกัมพูชา

  33. กองกำลังสังเกตการณ์ของสหประชาชาติในเซียร์ราลีโอน (UNAMSIL : United Nations Observer Mission in Sierra Leone)

  34. ๖. การปฏิบัติการของกองทัพไทยในติมอร์ ตอ. (กกล.๙๗๒ ไทย/ติมอร์ ตอ.) ในภารกิจรักษาสันติภาพในติมอร์ ตอ. (INTERFET : International Forces in East Timor/ UNTAET : United Nations Transitional Administration in East Timor และ UNMISET : United Nations Mission of Support in East Timor)

  35. UN แต่งตั้ง พล.ท.บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ ผบ.กกล.รักษาสันติภาพของสหประชาชาติในติมอร์ ตอ. (UNTAET)ต่อด้วย พล.ท.วินัย ภัททิยกุล ผบ.กกลฯ คนต่อมา

  36. The Role of the RTARF in Regional peacekeeping • ภารกิจสังเกตการณ์กระบวนการสันติภาพในอาเจห์รอบแรก (AMM : Aceh Monitoring Mission) “เป็นภารกิจรักษาสันติภาพภายใต้กรอบความร่วมมือระดับภูมิภาคซึ่งจัดตั้งโดยองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศอื่นนอกจากสหประชาชาติเป็นครั้งแรก”

  37. THAILAND THAILAND 975th THAI ENGINEER COMPANY TASK FORCE 975 THAI ENGINER TASK FORCE OPERATION ENDURING FREEDOM th • การจัด ร้อย.ช.ฉก.ปฏิบัติภารกิจเพื่อสันติภาพในอัฟกานิสถาน พ.ต.สิรภพ ศุภวานิช ผบ.ร้อย.ช.ฉก.๙๗๕ ไทย/อัฟกานิสถาน

  38. ๙. กกล.ปฏิบัติการเพื่อมนุษยธรรม ไทย/อิรัก

  39. The Role of the RTARF in Humanitarian Operations • การปฏิบัติภารกิจช่วยเหลือผู้ประสบภัยแผ่นดินไหวในอิหร่าน

  40. กองกำลังรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ ณ สาธารณรัฐบุรุนดี(ONUB : United Nations Operations in Burundi)

  41. ภารกิจสังเกตการณ์กระบวนการสันติภาพใน อาเจห์ รอบที่สอง

  42. ภารกิจรักษาสันติภาพในซูดาน (UNMIS : United Nations Peacekeeping Mission in Sudan)

  43. ปัจจัยที่เป็นข้อจำกัดปัจจัยที่เป็นข้อจำกัด • การขาดเจตนารมณ์ในระดับการเมืองที่ชัดเจน • การขาดความอ่อนตัวในกระบวนการตัดสินใจ • งบประมาณ • ทัศนคติในการเข้าร่วมภารกิจรักษาสันติภาพ • การสนับสนุนภารกิจรักษาสันติภาพเป็นการสิ้นเปลืองทรัพยากรของรัฐ โดยเปล่าประโยชน์ • ไทยยังคงประสบปัญหาด้านความมั่นคงภายใน • การเตรียมความพร้อมของกำลังรักษาสันติภาพตามมาตรฐานของสหประชาชาติ • ความพร้อมของกำลังพลด้านทักษะและองค์ความรู้

  44. ยุทธศาสตร์การดำเนินบทบาทด้าน การปฏิบัติการสันติภาพกองทัพไทย

  45. ยุทธศาสตร์รองรับการเปลี่ยนแปลง ในทศวรรษหน้า • ขยายบทบาทฯ อย่างสมดุลในทุกกรอบความร่วมมือ • การประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน • การผลิตข้อพิจารณาฝ่ายอำนวยการที่มีคุณภาพ

  46. แผนการดำเนินการเพื่อรองรับยุทธศาสตร์การดำเนินด้านการปฏิบัติการสันติภาพแผนการดำเนินการเพื่อรองรับยุทธศาสตร์การดำเนินด้านการปฏิบัติการสันติภาพ

  47. แผนการพัฒนาศักยภาพเบ็ดเสร็จแผนการพัฒนาศักยภาพเบ็ดเสร็จ • ด้านฝ่ายอำนวยการรักษาสันติภาพ • ด้านการเตรียมกำลังรักษาสันติภาพ • ด้านการควบคุมบังคับบัญชาหน่วยในสนาม • ด้านการฝึก-ศึกษา • การเป็นศูนย์กลางวิชาการด้านสันติภาพ

  48. ความคืบหน้าในการดำเนินการตาม แผนพัฒนาศักยภาพเบ็ดเสร็จ

  49. กรณีเป็นบุคคล การพัฒนาระบบงานฯทบทวน ปรับปรุงขั้นตอนการพิจารณาการจัดส่งกำลังฯ สหประชาชาติ คำขอ แจ้งตอบ ครม. คณะทูตถาวร อนุมัติ/ไม่อนุมัติ ประสานงาน คำขอ แจ้งตอบ พิจารณา กต. หารือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาเห็นชอบ กห./บก.ทหารสูงสุด

More Related