680 likes | 940 Views
ปัทมา เธียรวิศิษฎ์สกุล และทีมงาน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. หลักการและแนวคิด การวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค. การวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค. วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักการ และแนวคิดในการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาคในฐานะผู้ทำข้อมูล
E N D
ปัทมา เธียรวิศิษฎ์สกุล และทีมงานสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หลักการและแนวคิด การวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาคการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค วัตถุประสงค์ :เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักการ และแนวคิดในการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาคในฐานะผู้ทำข้อมูล องค์ความรู้จำเป็น:ในการวิเคราะห์สถานการณ์ทางเศรษฐกิจจะต้องประกอบด้วยองค์ความรู้ (อย่างน้อย) ใน 3 เรื่องหลัก ๆ ดังนี้ องค์ความรู้เบื้องต้นในเชิงทฤษฎีและประเด็นทางเศรษฐกิจ ข้อมูลเครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ และองค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐกิจไทย อาทิ โครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศ เครื่องมือและเทคนิค(ทางสถิติและเศรษฐมิติ)ในการวิเคราะห์ ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
กรอบการบรรยาย • ประเด็นและคำถามหลักในการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค • ข้อมูล/เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ • (3) การวิเคราะห์ภาพรวมเศรษฐกิจไทย • (4) ข้อจำกัดและข้อควรระวังในการวิเคราะห์เศรษฐกิจ มหภาค ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาคการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค ประเด็นและคำถามหลัก ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์สถานการณ์/ภาวะเศรษฐกิจมหภาคการวิเคราะห์สถานการณ์/ภาวะเศรษฐกิจมหภาค ประเด็นหลักที่ต้องวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค (ในระดับภาพรวม) การเปลี่ยนแปลงปริมาณกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถานการณ์ด้านการจ้างงาน เงินเฟ้อและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (ค่าเงิน หนี้ต่างประเทศ etc.) 3 คำถามหลัก สถานการณ์เศรษฐกิจเป็นอย่างไร (ปริมาณกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพิ่ม/ลด?) เนื่องจากสาเหตุ/ปัจจัยใด และคาดว่าอะไรจะเกิดขึ้น (คาดการณ์แนวโน้มหรือประมาณการเศรษฐกิจ) ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวมการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวม ประเด็นเศรษกิจมหภาคในรายละเอียดมากขึ้น ภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ๆ หรือในระดับมหภาคเป็นอย่างไร ด้านอุปสงค์/การใช้จ่าย/ความต้องการ (Demand side) (1) อุปสงค์ภายในประเทศ (2) อุปสงค์จากต่างประเทศ ด้านการผลิต (Supply side) สาขาการผลิตต่าง ๆ สถานการณ์ด้านการค้าระหว่างประเทศ สถานการณ์ด้านการเงิน สถานการณ์ด้านการคลัง เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (เงินเฟ้อ ค่าเงิน หนี้สิน) ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวมการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวม ประเด็นคำถาม (ต่อ) มีปัจจัยอะไรสนับสนุนการขยายตัว และมีปัจจัยใดที่เป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโต ประเด็นปัญหา (ระยะสั้น และเชิงโครงสร้าง) เงื่อนไข/ปัจจัยภายนอก เช่น ราคาน้ำมัน และเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะคู่ค้า คู่แข่งที่สำคัญ นโยบายดอกเบี้ย นโยบายการคลัง/ภาษี มาตรการอื่น ๆ ของรัฐบาล เหตุการณ์ผิดปกติหรือพัฒนาการใหม่ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น น้ำท่วม การก่อการร้าย โรคระบาด ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวมการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวม ประเด็นคำถาม (ต่อ) ผลจากการเคลื่อนไหวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่อการจ้างงาน และสถานการณ์ด้านตลาดแรงงาน เป็นอย่างไร เสถียรภาพของเศรษฐกิจเป็นอย่างไร (เสถียรภาพด้านราคา ด้านการเงิน ด้านต่างประเทศ) การเปลี่ยนแปลงในระดับภูมิภาคเป็นอย่างไร หรือ มีความเคลื่อนไหวในระดับภูมิภาคที่สะท้อนว่ามีการพัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่สอดคล้องกันหรือไม่ (ยังขาดข้อมูลสนับสนุนการวิเคราะห์ที่เหมาะสม สศช. กำลังจัดทำระบบฐานข้อมูล) ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวมการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวม ประเด็นคำถามหลัก (ต่อ) คาดการณ์หรือประมาณการว่าสถานการณ์เศรษฐกิจในอนาคตจะเป็นอย่างไร บนข้อสมมุติฐานอะไร ข้อเสนอแนะมาตรการและแนวนโยบายทางเศรษฐกิจ: ควรดำเนินมาตรการเศรษฐกิจในทิศทางใดเพื่อสนับสนุนให้เกิดการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน และมีคุณภาพ ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวมการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวม ประเด็นคำถามเฉพาะ (การวิเคราะห์ ad hoc issues) การวิเคราะห์ผลกระทบมาตรการหรือนโยบายรัฐบาล ผลกระทบจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เช่น ผลกระทบราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้น ผลกระทบ SARS ผลกระทบไข้หวัดนก และผลกระทบสงครามสหรัฐฯ- อิรัก เป็นต้น ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวมการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวม นักเศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomists) หาคำตอบว่าทำไมเศรษฐกิจจึงขยายตัว หดตัว หรือไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ทำความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านราคาสินค้าและบริการ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตรวมของประเทศ รายได้ การจ้างงาน และราคา การดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจที่เหมาะสมถูกทิศทางเพื่อให้เศรษฐกิจขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง มีเสถียรภาพ และไม่มีปัญหาการว่างงาน คือเป้าหมายปลายทาง ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาคการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค ข้อมูล/เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ ภาครัฐบาล ภาษี การใช้จ่าย ค่าจ้าง แรงงาน ภาคการเงิน (ตลาดเงิน+ตลาดทุน) ผู้บริโภค ผู้ผลิต สินค้าและบริการ ราคา การส่งออก การนำเข้า ภาคต่างประเทศ (Exchange Rate) ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวมการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวม การคำนวณ GDP ด้านสาขาการผลิต (Production sideor Supply side)ประกอบด้วยสาขาการผลิตต่าง ๆ อาทิ เกษตร อุตสาหกรรม การก่อสร้าง การค้าปลีกค้าส่ง ไฟฟ้าและประปา และอื่น ๆ ด้านรายจ่าย (Expenditure sideor Demand side)ประกอบด้วย C, I , G, X และ M GDP = C + I + G + (X - M) ด้านรายได้ (Income side)ค่าจ้างแรงงาน เงินเดือน ดอกเบี้ย ผลประกอบการภาคธุรกิจ ภาษีและเงินโอนรัฐบาล ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจด้านการผลิตการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจด้านการผลิต GDP = Ag. + Non-Ag. Ag. คือ มูลค่าเพิ่มภาคเกษตร Non-Ag. คือ มูลค่าเพิ่มนอกภาคเกษตร ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การคำนวณ GDP ด้านการผลิต ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเบื้องต้น (GDP) ด้านการผลิต ผลรวมของมูลค่าส่วนเพิ่ม (Value added) ของสินค้าและบริการที่ผลิตภายในประเทศทั้งหมด มูลค่าส่วนเพิ่ม (Value added) คือมูลค่าสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายหักด้วยมูลค่าสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
องค์ประกอบ GDP ด้านการผลิต ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจด้านรายจ่ายหรือด้านอุปสงค์การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจด้านรายจ่ายหรือด้านอุปสงค์ GDP = C+I+G+(X-M) C คือ การใช้จ่ายภาคเอกชน I คือ การลงทุนรวม G คือ การใช้จ่ายภาครัฐบาล X คือ การส่งออกสินค้าและบริการ M คือ การนำเข้าสินค้าและบริการ ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
องค์ประกอบ GDP ด้านรายจ่าย ที่มา สศช. ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวมการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวม นักเศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomists) ใช้ quantitative data เพื่อทำความเข้าใจกับ ราคา (Prices) ปริมาณ (Quantity or volume) มูลค่า (Value) มูลค่า = ราคา x ปริมาณ ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวมการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวม ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเบื้องต้น (GDP) ด้านการผลิต Nominal GDPคำนวณมูลค่าผลผลิตเป็นตัวเงิน โดยใช้ปริมาณผลผลิตในปีปัจจุบันคูณกับราคาในปีปัจจุบันหรือเรียกว่าราคาตลาด การเปลี่ยนแปลงของ Nominal GDP (GDP at current price) จึงสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงทั้งในปริมาณการผลิตและราคาสินค้าและบริการ Real GDP คำนวณจากปริมาณผลผลิตในปีปัจจุบันกับราคาใน ปีฐาน การเปลี่ยนแปลงของ Real GDP (GDP at constant prices) จึงเป็นความเปลี่ยนแปลงของปริมาณการผลิตหรือปริมาณกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวมการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวม 6 เครื่องชี้หลักด้านเศรษฐกิจมหภาค (6 most important macroeconomic data) ข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเบื้องต้น (Real gross domestic product: real GDP) อัตราการว่างงาน (Unemployment rate) อัตราเงินเฟ้อ (Inflation rate) อัตราดอกเบี้ย (Interest rate) อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange rate) ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ (SET index) ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาคการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค ภาพรวมเศรษฐกิจไทย ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
โครงสร้างทางเศรษฐกิจไทยในช่วงที่ผ่านมาโครงสร้างทางเศรษฐกิจไทยในช่วงที่ผ่านมา การผลิตพึ่งพิงสาขาอุตสาหกรรมมากขึ้น ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
โครงสร้างทางเศรษฐกิจไทยในช่วงที่ผ่านมาโครงสร้างทางเศรษฐกิจไทยในช่วงที่ผ่านมา การผลิตพึ่งพิงสาขาอุตสาหกรรมมากขึ้น ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การจ้างงานภาคเกษตรจะมีสัดส่วนลดลงการจ้างงานภาคเกษตรจะมีสัดส่วนลดลง แต่แรงงานกว่าร้อยละ 40 ยังคงอยู่ในภาคเกษตรกรรม ต้องพัฒนาภาคเกษตรให้เข้มแข็ง: ทั้งการผลิตและการค้า (%) ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
โครงสร้างทางเศรษฐกิจไทยในช่วงที่ผ่านมาโครงสร้างทางเศรษฐกิจไทยในช่วงที่ผ่านมา โครงสร้างเศรษฐกิจไทย พึ่งพาการส่งออกมากขึ้น ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
โครงสร้างทางเศรษฐกิจ เปิดมากขึ้นตามลำดับ ทำให้อ่อนไหวต่อปัจจัยภายนอกมากขึ้น (%) ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
กิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นหรือไม่กิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นหรือไม่ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ : อัตรา (ร้อยละ) ที่มา : สศช. ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาคการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค ด้านอุปทาน (Supply side) ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
6.9 1.8 GDP ปรับฤดูกาล 6.1 1.0 1.0 1.5 GDP Q4/2547 อัตราการขยายตัว (%) 2547 2546 2547 Q1 Q2 Q3 Q4 ภาคเกษตร -5.8 -5.2 -4.9 -2.0 8.7 -4.4 7.1 ภาคนอกเกษตร 7.7 6.4 7.7 6.7 7.2 GDP 6.4 6.1 5.1 6.7 6.9 6.1 ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
ด้านการผลิต Q4/47 Q3/47 สาขาที่ขยายตัวสูงขึ้น • เหมืองแร่ • ก่อสร้าง • การค้า • การเงิน 4.0 9.4 2.8 11.6 5.5 22.2 2.9 15.7 สาขาที่ชะลอตัว • อุตสาหกรรม • ไฟฟ้า ประปา • โรงแรม • ขนส่ง • ธุรกิจอสังหาฯ 8.4 8.0 16.3 8.4 8.6 7.4 5.6 6.8 6.5 7.7 สาขาลดลง • เกษตร -5.2 -4.9 ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
ปัจจัยด้านอุปทานปี 2547 ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การผลิตภาคอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิตการผลิตภาคอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต ที่มา: ธปท ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาคการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค ด้านอุปสงค์ (Demand side) ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
อุปสงค์ภายในประเทศและการส่งออกขยายตัวสูงอุปสงค์ภายในประเทศและการส่งออกขยายตัวสูง ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม. ที่มา : สศช.
ด้านอุปสงค์ในประเทศปี 2547 ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
รายได้เกษตรกร (Farm Income) ยังคงขยายตัวได้ดี ม.ค. ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม. ที่มา: ธปท.
รายจ่ายเพื่อการอุปโภคของรัฐบาลขยายตัวร้อยละ 9.6 ค่าตอบแทนแรงงาน เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3 ค่าใช้จ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการสุทธิ เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.0 การใช้จ่ายรัฐบาล ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
ด้านการลงทุน อัตราเพิ่มของการลงทุน (%) 2547 2546 2547 Q2 Q3 Q4 Q1 เอกชน 18.6 16.1 17.5 15.3 14.2 12.7 18.5 15.5 17.4 15.3 14.4 13.2 - เครื่องมือเครื่องจักร 19.1 17.8 15.4 13.9 11.2 - ก่อสร้าง (ที่อยู่อาศัย) 17.8 -0.8 11.7 ภาครัฐ 10.3 3.8 8.1 28.2 11.9 14.4 การลงทุนรวม 16.7 12.9 12.0 16.2 หมายเหตุ ราคาปีฐาน ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน:ยังคงขยายตัว แต่ในอัตราที่ชะลอลงอย่างต่อเนื่อง ม.ค. ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
เครื่องชี้การลงทุนภาคเอกชนที่สำคัญเครื่องชี้การลงทุนภาคเอกชนที่สำคัญ ที่มา: ธปท ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
การค้าระหว่างประเทศขยายตัวเพิ่มการค้าระหว่างประเทศขยายตัวเพิ่ม แต่การนำเข้าเพิ่มเร็วกว่าการส่งออกมาก ทำให้เกินดุลการค้าขาดดุลสูง ม.ค. 48 ขาดดุลบัญชีเดินสะพัด 942 ล้าน USD เป็นครั้งแรกในรอง 7 ปี 9 เดือน ที่มา : ธปท. ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
ส่งออก : ราคาเพิ่มขึ้น แต่ปริมาณลดลง ที่มา : ธปท. ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
นำเข้า : ราคาและปริมาณเพิ่มขึ้นมาก ที่มา : ธปท. ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
สถานการณ์ท่องเที่ยว : เดือนมกราคมนักท่องเที่ยวลดลง ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเกิดพิบัติภัยในช่วงปลายเดือนธันวาคม 2547 พันคน % Y-O-Y หวัดนก นักท่องเที่ยวต่างประเทศ ผ่านด่านดอนเมือง SARS ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
เงินทุนเคลื่อนย้ายเกินดุลจากการลงทุนในหลักทรัพย์ การลงทุนในหลักทรัพย์เกินดุลสุทธิจากการที่มีการไถ่ถอนหุ้นในต่างประเทศใน Q3 และ Q4 และการไหลเข้าสุทธิในตลาดตราสารหนี้ใน Q3 การลงทุนโดยตรงเกินดุลสุทธิ ในกิจการโลหะ,และการลงทุนในเรือนหุ้นจากการเพิ่มทุนในกิจการปิโตรเลียมและบริการเพิ่มขึ้น แต่เกินดุลสุทธิลดลง เนื่องจากเงินลงทุนไหลออกในกิจการเครื่องใช้และอุปกรณ์ไฟฟ้า การค้า และการลงทุนและบริษัทโฮลดิ้ง การลงทุนอื่น ๆ ไหลออกสุทธิ โดยเฉพาะใน Q1 และ Q3 จากการที่รัฐวิสาหกิจชำระคืนเงินกู้ และธพ.เพิ่มสินทรัพย์ต่างปท. จากการทำswap ที่มา : ธปท. ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
ดุลการชำระเงินเกินดุลอย่างมากดุลการชำระเงินเกินดุลอย่างมาก ที่มา : ธปท. ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
ฐานะการคลัง ที่มา : ธปท. ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.
ภาวะการเงิน: สนับสนุนกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้เป็นปกติมากขึ้น (ร้อยละ) สัดส่วนสินเชื่อต่อเงินฝากของธนาคารพาณิชย์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น สินเชื่อขยายตัวเร็วกว่าเงินฝาก ที่มา : ธปท. ส่วนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ, สศม.