1 / 50

กองวิจัยตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน

แนวโน้มความต้องการแรงงานในอนาคต และแนวทางการจัดนิทรรศการด้านตลาดแรงงาน. กองวิจัยตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน. http://lmi.doe.go.th/. แนวโน้มความต้องการแรงงานในอนาคต และแนวทางการจัดนิทรรศการด้านตลาดแรงงาน. 1. สถานการณ์การมีงานทำในปัจจุบัน. 2. แนวโน้มของสถานการณ์ในอนาคต.

livvy
Download Presentation

กองวิจัยตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวโน้มความต้องการแรงงานในอนาคต และแนวทางการจัดนิทรรศการด้านตลาดแรงงาน กองวิจัยตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน http://lmi.doe.go.th/

  2. แนวโน้มความต้องการแรงงานในอนาคต และแนวทางการจัดนิทรรศการด้านตลาดแรงงาน 1. สถานการณ์การมีงานทำในปัจจุบัน 2. แนวโน้มของสถานการณ์ในอนาคต 3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและความร่วมมือ ของประเทศในลุ่มน้ำโขง 4. คุณลักษณะของแรงงานไทยในตลาดแรงงาน ของอาเซียนและตลาดแรงงานโลก

  3. แนวโน้มความต้องการแรงงานในอนาคต และแนวทางการจัดนิทรรศการด้านตลาดแรงงาน 1. สถานการณ์การมีงานทำในปัจจุบัน 2. แนวโน้มของสถานการณ์ในอนาคต 3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและความร่วมมือ ของประเทศในลุ่มน้ำโขง 4. คุณลักษณะของแรงงานไทยในตลาดแรงงาน ของอาเซียนและตลาดแรงงานโลก

  4. 1. สถานการณ์การมีงานทำในปัจจุบัน ประชากรทั่วประเทศ 67.27 ล้านคน ผู้มีอายุต่ำกว่า 15 ปี 13.27 ล้านคน ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป 54.00 ล้านคน ผู้อยู่ในกำลังแรงงาน 38.92 ล้านคน ผู้อยู่นอกกำลังแรงงาน 15.08 ล้านคน ทำงานบ้าน 4.65 ล้านคน เรียนหนังสือ 4.32 ล้านคน ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ อื่น ๆ 6.11 ล้านคน หมายเหตุ : ข้อมูลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ปี 2554

  5. สถานการณ์การว่างงาน ที่มา : รวบรวมโดยกองวิจัยตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน

  6. อัตราการว่างงานรายเดือนอัตราการว่างงานรายเดือน ร้อยละ ที่มา : รวบรวมโดยกองวิจัยตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน

  7. ตำแหน่งงานว่างที่ยังไม่ได้รับการบรรจุ 10 อันดับแรก หมายเหตุ : ข้อมูลไตรมาส 4 ปี 2554

  8. ผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน คน ที่มา : รวบรวมโดยกองวิจัยตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน

  9. เปรียบเทียบความต้องการแรงงานจำแนกตามหมวดอาชีพเปรียบเทียบความต้องการแรงงานจำแนกตามหมวดอาชีพ จำนวนความต้องการแรงงานเดือนเมษายน 2555 มีจำนวนทั้งสิ้น 153,243 อัตรา อัตรา ที่มา : รวบรวมโดยกองวิจัยตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน 5

  10. จำนวนผู้มีงานทำ ปี 2549-2554

  11. ผู้มีงานทำจำแนกตามภาคการผลิต ภาคบริการ และภาคเกษตรกรรม

  12. ผู้มีงานทำ จำแนกตามระดับการศึกษา ปี 2549 - 2554

  13. ผู้มีงานทำที่จบการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย จำแนกตามสายวิชา ปี 2549 - 2553 13

  14. ผู้ว่างงานและอัตราการว่างงาน ปี 2549 - 2554

  15. จำนวนผู้ว่างงาน จำแนกตามระดับการศึกษา ปี 2549 - 2554

  16. แนวโน้มความต้องการแรงงานในอนาคต และแนวทางการจัดนิทรรศการด้านตลาดแรงงาน 1. สถานการณ์การมีงานทำในปัจจุบัน 2. แนวโน้มของสถานการณ์ในอนาคต 3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและความร่วมมือ ของประเทศในลุ่มน้ำโขง 4. คุณลักษณะของแรงงานไทยในตลาดแรงงาน ของอาเซียนและตลาดแรงงานโลก

  17. โครงสร้างประชากรของประเทศไทยในช่วงปี 2543-2573 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสู่สังคมผู้สูงอายุ

  18. Ageing Society สังคมไทยกำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ (Ageing Society) คือสังคมที่มีประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปในสัดส่วนร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด ประเทศไทยเริ่มก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมาตั้งแต่ปี 2547 ในปี 2567 สังคมไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ (Aged Society) คือสังคมที่มีประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปในสัดส่วนร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด แนวโน้มการขาดแคลนแรงงาน

  19. ผลกระทบของ Ageing Society ประชากรวัยแรงงานมีจำนวนลดลง ประชากรที่อยู่ในวัยพึ่งพิงเพิ่มจำนวนสูงขึ้น ประชากรในวัยเด็กที่จะเข้ามาทดแทนกำลังแรงงานที่จะกลายเป็นผู้สูงอายุและกำลังโรยรา ไม่สามารถทดแทนกันได้อย่างเพียงพอ จากแนวโน้มความต้องการแรงงานที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นในทุกๆปี ตามการเจริญเติบโตของภาวะเศรษฐกิจ ทำให้เกิดปัญหาการขาดแคลนแรงงาน แนวโน้มการขาดแคลนแรงงาน

  20. เศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นเศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น GDP Growth (IMF): 2555(5.5%), 2556(7.5%) 20

  21. ค่าแรงของประเทศไทยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆค่าแรงของประเทศไทยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ 21 ที่มา: หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 25 เมษายน 2554

  22. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ทศวรรษหน้า ผู้ว่าการธนาคารแห่งประทศไทย ได้กล่าวในการสัมมนาวิชาการประจำปี 2010 ในหัวข้อ “ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ก้าวไหลสู่ทศวรรษหน้า” ที่โรงแรม Centara Grand ในวันที่ 21 กันยายน 2553 ว่า “ประเทศไทยมีโอกาสเสี่ยงที่จะตกอยู่ในกับดักของประเทศที่มีรายได้ระดับกลาง (middle-income trap)ถ้ายังไม่สามารยกระดับความสามารถในการแข่งขัน” พร้อมทั้งยังได้เสนอว่า • รัฐบาลต้องสร้างแรงจูงใจให้กับธุรกิจเพียงพอที่จะเพิ่มการลงทุนของภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ลงทุนในการใช้เทคโนโลยีชั้นสูง • ประเทศไทยเผชิญกับการท้าทายในการปรับปรุงทักษะฝีมือของแรงงาน

  23. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยก้าวไกลสู่ทศวรรษหน้าขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยก้าวไกลสู่ทศวรรษหน้า เร่งพัฒนาศักยภาพ อย่างจริงจัง เร่งลงทุนในโครงสร้าง พื้นฐาน ก้าวกระโดดไปสู่การ ผลิตด้วยเทคโนโลยีขึ้นสูง การขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยเพื่อให้หลุดพ้นจากประเทศ ที่มีรายได้ระดับกลาง พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ วิจัยและพัฒนา เอื้อต่อการพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ หลุดพ้นความเสี่ยงที่จะตกอยู่ในกับดักของประเทศที่มีรายได้ระดับกลาง (Middle income country trap)

  24. ประมาณการผู้เข้าสู่ตลาดแรงงาน ปี 2554 - 2555

  25. ร้อยละ อายุ ปี ปี ปี พ.ศ. 2480 2490 2503 2513 2533 2543 2553 2563 2568 2523 ร้อยละของประชากร จำแนกตามช่วงอายุ ปี 2480 - 2568 ที่มา : วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - พ.ศ. 2480, 2490, 2503, 2513, 2523, 2533 และ 2543 ได้จากการสำรวจสำมะโนประชากรและเคหะของสำนักงานสถิติแห่งชาติ - พ.ศ. 2553, 2563 และ 2568 ได้จากการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543 - พ.ศ. 2568 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  26. แนวโน้มความต้องการแรงงานในอนาคต และแนวทางการจัดนิทรรศการด้านตลาดแรงงาน 1. สถานการณ์การมีงานทำในปัจจุบัน 2. แนวโน้มของสถานการณ์ในอนาคต 3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและความร่วมมือ ของประเทศในลุ่มน้ำโขง 4. คุณลักษณะของแรงงานไทยในตลาดแรงงาน ของอาเซียนและตลาดแรงงานโลก

  27. ความจำเป็นในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจความจำเป็นในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เกิดการแข่งขันในภูมิภาคมากขึ้น ไม่สามารถพึ่งพิงแรงงานราคาถูกหรือเงินบาทอ่อนได้ตลอดไป แรงงานทักษะ บริการ สินค้า ทุน ASEAN ECONOMIC COMMUNITY (AEC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่จะเกิดขึ้นในปี 2558 ทำให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีมากขึ้นในภูมิภาคอาเซียน 27

  28. แผนแม่บทความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนแผนแม่บทความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน Master Plan on ASEAN Connectivity • เพิ่มพูนการรวมตัวและความ ร่วมมือของอาเซียน • เพิ่มความสามารถการแข่งขันของอาเซียน จากเครือข่ายการผลิตในภูมิภาคที่เข้มแข็ง • วิถีชีวิตของประชาชนดีขึ้น • ปรับปรุงกฎระเบียบและธรรมาภิบาลของอาเซียน • เชื่อมต่อศูนย์กลางเศรษฐกิจ และลดช่องว่างการพัฒนา • ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของท้องถิ่น • เพิ่มพูนความพยายามในการ จัดการ/ส่งเสริมการ พัฒนาอย่างยั่งยืน • สามารถจัดการกับผลกระทบ ทางลบที่เกิดจากความเชื่อมโยง 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน • คมนาคม • เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • พลังงาน • การเปิดเสรีการอำนวยความสะดวกทางการค้าการบริการและการลงทุน • ความตกลง/ข้อตกลงยอมรับร่วมกัน • ความตกลงการขนส่งในภูมิภาค • พิธีการในการข้ามพรมแดน • โครงการเสริมสร้างศักยภาพ 2. ด้านกฎระเบียบ 3. ด้านประชาชน • การศึกษาและวัฒนธรรม • การท่องเที่ยว The 15th ASEAN Summit in Cha-am Hua Hin, Thailand on 24 October, 2009: ASEAN leaders adopted a Statement on ASEAN connectivity The 16th ASEAN Summit in Hanoi, Vietnam, 8-9 April, 2010: Leaders emphasized the need to identify measure in the Master Plan with clear targets and timelines

  29. ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ก่อสร้างโครงข่ายทางหลวงอาเซียนให้แล้วเสร็จ สถานะ - การดำเนินงานตามบันทึกความเข้าใจระดับรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาโครงการทางหลวงอาเซียน เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1999 ยังไม่มีความคืบหน้าเท่าที่ควร ปัญหาอุปสรรค เส้นทางเชื่อมต่อไม่สมบูรณ์ 227 กม. ในพม่า ถนนที่ยังต่ำกว่ามาตรฐานกว่า 5,300 กม. ใน6 ประเทศ ได้แก่ลาว พม่า เวียดนาม ฟิลิปปินส์ อินโดนิเซีย และมาเลเซีย โครงการทางหลวงอาเซียน 23 เส้นทาง 38,400 กิโลเมตร ภายในปี ค.ศ.2012 ปรับปรุงถนนให้ได้มาตรฐานชั้นที่ 3 เป็นอย่างน้อย ภายในปี ค.ศ. 2013 ติดตั้งป้ายจราจรในถนนทุกสายที่กำหนด ภายในปี ค.ศ. 2015 ศึกษาเพื่อเชื่อมโยงประเทศที่เป็นเกาะกับแผ่นดินใหญ่ของอาเซียน และเชื่อมโยงทางหลวงอาเซียนไปยังจีน/อินเดีย โดยเฉพาะช่วงฮานอย-ลาวตอนเหนือ-พม่า-อินเดีย ภายในปี ค.ศ. 2020 ปรับปรุงถนนส่วนที่มีการจราจรหนาแน่นให้เป็นมาตรฐานชั้นที่ 1

  30. ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ดำเนินโครงการเส้นทางรถไฟสิงค์โปร์-คุนหมิงให้แล้วเสร็จ • ให้ความสำคัญลำดับสูงกับการพัฒนาเส้นทางรถไฟฝั่งตะวันออก (ไทย กัมพูชา เวียดนาม) และมีทางเชื่อมสปป.ลาว-เวียดนาม โดยดำเนินการ ดังนี้ • ก่อสร้างเส้นทางช่วงที่ขาดหาย • ภายในปี 2013 • ปอยเปต-ศรีโสภณ 48กม. -- กัมพูชา • ภายในปี 2014 • อรัญประเทศ-คลองลึก 6 กม. -- ไทย • ภายในปี 2015 • พนมเปญ-ล็อกนิน 254 กม. -- กัมพูชา • ภายในปี 2020 • ด่านเจดีย์สามองค์-น้ำตก 153 กม. – ไทย • ธันบูซายัต- ด่านเจดีย์สามองค์ 110 กม. – พม่า • เวียงจันทน์-ท่าแขก-มูเกีย 466 กม. – สปป.ลาว • ล็อกนิน-โฮจิมินห์ 129 กม. – เวียดนาม • มูเกีย –ทันอับ –วุงอัง 119 กม. -- เวียดนาม • จัดทำยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการเส้นทางรถไฟสิงค์โปร์-คุนหมิง ภายในปี 2013 • ระดมทุน และความช่วยเหลือทางวิชาการจากหุ้นส่วนภายนอก ในระดับทวิภาคี หรือ ADB • ศึกษาความเป็นไปได้เพื่อต่อขยายเส้นทางไปเมืองสุราบายา อินโดนิเซีย 7 4 3 6 5 2 1 1. Singapore–Malaysia – Bangkok – Aranyaprathet – Cambodia – Vietnam – China 2. Singapore – Malaysia – Bangkok – Three Pagodas Pass – Myanmar – China 3. Singapore – Malaysia – Bangkok – Nong Khai – Lao PDR – Vietnam – China 4. Singapore – Malaysia – Bangkok – Nong Khai – Lao PDR – China 5. Singapore – Malaysia – Bangkok – UbonRatchathani – Lao PDR – Vietnam – China 30 6. Singapore – Malaysia – Bangkok – BuaYai – Mukdaharn – Lao PDR – Vietnam - China 7. Singapore–Malaysia–Bangkok–Chiang Rai–Chiang Khong/HouySai - Lao PDR – China

  31. ยุทธศาสตร์ที่ 3: สร้างเครือข่ายระบบการขนส่งทางน้ำบนภาคพื้นทวีปที่มีประสิทธิภาพและเชื่อมโยงกัน สถานะ – เป็นการขนส่งที่คุ้มค่า เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าการขนส่งรูปแบบอื่นๆ ข้อจำกัด – ขาดการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่เพียงพอ และขาดการกำหนดกรอบนโยบายระดับภูมิภาคเพื่อพัฒนาบริการขนส่งทางน้ำ มาตรการสำคัญ – กำหนดแผนพัฒนาเครือข่ายระบบการขนส่งทางน้ำภาคพื้นทวีปในอาเซียน ภายในปี 2012 และเริ่มดำเนินการ ยุทธศาสตร์ที่ 4: สร้างระบบการขนส่งทางทะเลที่เชี่อมโยง มีประสิทธิภาพ และแข่งขันได้ • พัฒนาสมรรถนะ/ศักยภาพท่าเรือ 47 แห่งภายในปี 2015 • กำหนดเส้นทางเดินเรือที่มีประสิทธิภาพและน่าเชื่อถือ ที่เชื่อมระหว่างหมู่เกาะและแผ่นดินใหญ่ สอดคล้องกับข้อตกลง และเส้นทางระหว่างประเทศที่สำคัญ • เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้เส้นทางเดินเรือที่เชื่อมโยงกับโลกและภูมิภาค และเส้นทางเดินเรือในประเทศ • ศึกษาความเป็นไปได้เพื่อจัดตั้งเครือข่ายระบบการเดินเรือทางทะเลของอาเซียน เส้นทางขนส่งสินค้าสำคัญในอาเซียน

  32. ยุทธศาสตร์ที่ 5 : สร้างระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่คล่องตัว เพื่อให้อาเซียนเป็นศูนย์กลางการขนส่งในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอื่นๆ ก่อสร้างเส้นทางที่ขาดหายไปในพม่าตามแนว EWEC ศึกษาเกี่ยวกับศักยภาพของแนวเส้นทางการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบเพื่อให้พื้นที่ต่างๆ เป็นสะพานเศรษฐกิจในเส้นทางการขนส่งของโลก พัฒนา/ปรับปรุงท่าเรือขอบนอก เช่น ย่างกุ้ง ดานัง กำหนดและพัฒนาจุดเปลี่ยนถ่ายสินค้าอาเซียน โดยเฉพาะที่มีอยู่แล้ว ได้แก่ ทางหลวงอาเซียน และเส้นทางรถไฟสิงค์โปร์-คุนหมิง การพัฒนาท่าเรือน้ำลึกทวาย (2020) ทางหลวงเชื่อมโยงกาญจนบุรีและทวาย (2020)ศึกษา F/S ระบบรางรถไฟระหว่างกาญจนบุรีและทวาย ก่อสร้างสะพานข้ามโขงที่เมืองเนีอกเลือง บนทางหลวงหมาย เลข 1 กัมพูชา

  33. การพัฒนาถนนกับเพื่อนบ้านการพัฒนาถนนกับเพื่อนบ้าน ไทย – ลาว (11 โครงการ) 1. โครงการถนนสายห้วยทราย – หลวงน้ำทา – บ่อเต็น 2. โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 4 (เชียงของ) 3. โครงการก่อสร้างถนนสาย ห้วยโก๋น – ปากแบ่ง 4. โครงการก่อสร้างถนนสาย 13 เหนือ – สังคโลก ในหลวงพระบาง 5. โครงการก่อสร้างถนนสาย ภูดู่ - ปากลาย 6. กครงการก่อสร้างถนนสาย 11 สปป.ลาว 7. โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเหือง อ.ท่าลี่ จ.เลย 8. โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 1 (หนองคาย) 9. โครงการก่อสร้างถนนเชื่อมท่าเทียบเรือ(บ.เวินใต้) – ทางหลวง หมายเลข 13 ของลาว 10. โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 3 (นครพนม) 11. โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 2 (มุกดาหาร) ไทย – กัมพูชา (3 โครงการ) 12.โครงการก่อสร้างถนนสาย 67 ช่องสะงำ – อัลลองเวง – เสียมราฐ 13.โครงการก่อสร้างถนนสาย 68 ช่องจอม - กรอลันท์ 14. โครงการก่อสร้างถนนสาย 48 เกาะกง – สะแรอัมเบิล ไทย – มาเลเซีย (5 โครงการ) 15. โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโกลกที่ อ.ตากใบ 16. โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโกลก (แห่งที่ 2) ที่ อ.สุไหงโกลก 17. โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโกลกที่ บ.บูเก๊ะตา อ.แว้ง 18. โครงการถนนสายนาทวี-บ้านประกอบ/ดุเรียนบุหรง-อลอสตาร์ 19. โครงการถนนสายสตูล-วังประจัน/วังเกลียน-เปอร์ลิส ตอน ควนสตอ-วังประจัน ไทย – พม่า (7 โครงการ) 20. โครงการก่อสร้างถนนสาย บ.พุน้ำร้อน – ชายแดนไทย/พม่า 21. โครงการก่อสร้างถนนสาย กาญจนบุรี - ทวาย 22. โครงการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-พม่า อ.แม่สอด 23. โครงการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-พม่า อ.แม่สอด แห่งที่ 2 24. โครงการก่อสร้างถนนสาย เมียวดี – เชิงเขาตะนาวศรี 25. โครงการก่อสร้างถนน สายเชิงเขาตะนาวศรี – กอกะเร็ก 26. โครงการก่อสร้างถนนสาย กอกะเร็ก-ท่าตอน 27. โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำสายแห่งที่ 2 (อ.แม่สาย) คุนหมิง จีน 1 พม่า 3 4 27 9 ลาว 5 10 6 2 11 ย่างกุ้ง 23 8 22 7 26 ดานัง 25 24 ไทย 21 ทวาย 12 13 กัมพูชา เวียดนาม 20 ตราด 14 วังเตา 17 16 15 19 แล้วเสร็จ นราธิวาส กำลังทำ 18 อนาคต มาเลเซีย

  34. ยุทธศาสตร์ที่ 6 : เร่งการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในชาติสมาชิก ศึกษาความเป็นไปได้เพื่อพัฒนาอาเซียนเป็นตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเดียว ภายหลังปี 2015 ในบริบทของการเปิดเสรีสินค้า บริการ การลงทุน และทรัพยากรมนุษย์ สถานะ - หลายประเทศในอาเซียนได้รับการยกย่องระดับโลกในด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปัญหาและข้อจำกัด – ความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศ โดยเฉพาะระหว่างพื้นที่ล้าหลังและตัวเมือง ซึ่งต้องได้รับการแก้ไขเพื่อลดช่องว่างระหว่างประเทศสมาชิก จัดลำดับความสำคัญและกระตุ้นการใช้โครงสร้างพื้นฐานที่ใช้งานกับอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงในโรงเรียน ทบทวนข้อบังคับการให้บริการระดับสากลและนโยบายอื่นๆ เพื่อให้เอื้อต่อการใช้งานอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง เสริมสร้างความมั่นคง ความเที่ยงตรงของเครือข่าย การป้องกันข้อมูล และการประสานงานระหว่างศูนย์รักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ โดยการพัฒนากรอบและมาตรฐานขั้นต่ำร่วมกัน ภายในปี 2015 ส่งเสริมความหลากหลายของการเชื่อมโยงระหว่างประเทศในอาเซียน สร้างแนวเส้นทางอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงในอาเซียน โดยกำหนดและพัฒนาสถานที่ในแต่ละประเทศสมาชิกเพื่อสร้างการเชื่อมโยงที่มีคุณภาพ ภายในปี 2014 จัดตั้งศูนย์แม่ข่ายอินเตอร์เน็ต อาเซียน ภายในปี 2013

  35. ยุทธศาสตร์ที่ 7 : ให้ความสำคัญกับโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานของอาเซียน Trans-ASEAN Gas Pipeline ASEAN Power Grid • ปรับปรุงกฎหมายและกรอบการควบคุมการค้าและการ เชื่อมโยงไฟฟ้าระดับทวิภาคีและพรมแดน (2008-2010) • ปรับปรุงแนวปฏิบัติหรือหลักเกณฑ์มาตรฐานด้านเทคนิควม กันในด้านการออกแบบ การเดินระบบ และบำรุงรักษา (2008- 2012) • กำหนดและเสนอรูปแบบการระดมเงินทุนสำหรับโครงข่าย ระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน (2008-2011) • พัฒนาความเชื่อมโยงระดับทวิภาคี/พหุภาคีและรายงานที่ ประชุม (2008-2015) • จัดทำแบบจำลองการร่วมลงทุนท่อส่งก๊าซในอาเซียน • รับรองมาตรฐานทางเทคนิคร่วมสำหรับการออกแบบก่อสร้าง และบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐาน • รับรองแบบจำลองทางธุรกิจของท่อส่งก๊าซอาเซียน • ดำเนินแผนความปลอดภัยและความมั่นคงสำหรับการเชื่อมโยง ระบบท่อส่งก๊าซ • ปรับปรุงและดำเนินโครงการเชื่อมโยงระบบท่อส่งก๊าซ • ศึกษาความเป็นไปได้เพื่อขยายระบบท่อส่งก๊าซไปสู่ BIMP-EAGA

  36. การพัฒนาความเชื่อมโยงในด้านกฎระเบียบ มาตรการสำคัญ ยุทธศาสตร์หลัก 1-5 ให้สัตยาบัน เร่งจัดทำพิธีสารให้เสร็จสมบูรณ์และลงนามโดยประเทศสมาชิกในปี 2011 และ เริ่มดำเนินการตามความตกลงฯในปี 2014-2015 ดำเนินการตามกรอบความตกลง 3 กรอบว่าด้วยการขนส่ง (การขนส่งสินค้าผ่านแดน สินค้าข้ามแดน และการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ) เร่งดำเนินการตามข้อตกลงในระดับทวิภาคีและอนุภูมิภาคที่มีอยู่ เช่น ในกรอบ GMS และ BIMP-EAGA ภายในปี 2013 และจัดทำข้อตกลงของอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวการขนส่งผู้โดยสารทางบก ในปี 2015 เริ่มดำเนินโครงการการอำนวยความสะดวกด้านขนส่งผู้โดยสาร ในโครงข่ายทางหลวงที่เชื่อมรัฐต่างๆ เพื่อขจัดปัจจัยขัดขวางการเคลื่อนย้ายเสรีของยานพาหนะ สินค้า และบุคคลข้ามแดน เร่งกระบวนการเพื่อให้ความตกลงพหุภาคีในเรื่องที่เกี่ยวข้องมีผลบังคับใช้โดยเร็ว จัดทำความตกลงฯกับจีนในปี 2010 จัดทำแผนงานตั้งตลาดการบินเดียวอาเซียนในปี 2011 และดำเนินงานในปี 2015 สร้างตลาดการบินเดียวในอาเซียน จัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาให้เสร็จในปี 2012 และพัฒนากรอบการดำเนินงานให้แล้วเสร็จในปี 2015 สร้างตลาดการขนส่งทางเรือเดียวในอาเซียน ลดมาตรการทางการค้าที่มิใช่ภาษี กำหนดมาตรฐานระดับภูมิภาคร่วมกัน และเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบรับรอง ปรับปรุงกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า และประสานกับประเทศคู่เจรจา เพิ่มการเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรีภายในภูมิภาคอาเซียน โดยการลดอุปสรรคทางการค้าภายในระดับภูมิภาค 37

  37. การพัฒนาความเชื่อมโยงในด้านกฎระเบียบ (ต่อ) ยุทธศาสตร์หลัก 6-10 มาตรการสำคัญ เร่งพัฒนาภาคบริการทางการขนส่งที่มีประสิทธิภาพและแข่งขันได้ โดยเฉพาะในสาขาโทรคมนาคมและบริการอื่นๆ ขจัดข้อจำกัดด้านการค้าและบริการสำหรับการขนส่ง ภายในปี 2013 เร่งเปิดเสรีด้านโทรคมนาคม เร่งดำเนินการใช้ระบบศุลกากรอิเล็คทรอนิกส์ ณ จุดเดียวในระดับประเทศ โดยสมาชิกเดิม ภายในปี 2008 และ CLMV ภายในปี 2012 และใช้ที่ด่าน ภายในปี 2015 ลดขั้นตอนพิธีการด้านศุลกากร จัดทำกรอบกฎระเบียบการบริหารพรมแดนที่สอดคล้องกัน ส่งเสริมความร่วมมือกับภาคธุรกิจลอุตสาหกรรม และพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พัฒนาโครงการอำนวยความสะดวกทางการค้าในภูมิภาคอย่างจริงจัง ยกระดับความสามารถของการบริหารจัดการพรมแดน พัฒนาขั้นตอนการบริหารจัดการพรมแดน (CIQ) บูรณาการขั้นตอนพิธีการศุลกากร ส่งเสริมการบริหารจัดการร่วมกันระหว่างประเทศ เพื่อให้เกิดจุดตรวจและดำเนินการเดียว ในปี 2013 เร่งให้ชาติสมาชิกอาเซียนเปิดรับการลงทุนจากภายในและภายนอกภูมิภาคภายใต้กฎระเบียบการลงทุนที่เป็นธรรม สร้างรูปแบบการปรับลด/ขจัดอุปสรรคการลงทุนเป็นระยะเพื่อให้มีการลงทุนที่เปิดเสรี สร้างกระบวนการติดตามในระดับรัฐมนตรี เสริมสร้างความสามารถของสถาบันในพื้นที่ล้าหลังของภูมิภาคและปรับปรถงการประสานงานด้านนโยบาย แผนงาน และโครงการในระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาค อำนวยความสะดวกการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการจากผู้ให้สู่ CLMV ตั้งกลไกและโครงสร้างเพื่อการประสานของอาเซียนกับ DP อื่นๆ 38

  38. การส่งเสริมความเชื่อมโยงด้านประชาชนการส่งเสริมความเชื่อมโยงด้านประชาชน • ส่งเสริมความเข้าใจด้านสังคมและวัฒนธรรมภายในอาเซียนให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น • จัดตั้งศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้เสมือนจริงในด้านประชาชน วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และเศรษฐกิจ ภายในปี 2012 • สนับสนุนการสร้างหลักสูตร เนื้อหา สื่อการสอนเกี่ยวกับอาเซียน ภายในปี 2012 และสนับสนุนการเรียนภาษาของประเทศอาเซียนเป็นภาษาที่สาม • ส่งเสริมการรับรู้เกี่ยวกับอาเซียนตามแผนการสื่อสาร และความเข้าใจอันดีในวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ร่วมกันของอาเซียน • สนับสนุนการระดมทุนเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของอาเซียนร่วมกัน ภายในปี 2013 • 2. ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชาชนภายในอาเซียนให้เพิ่มขึ้น • ศึกษาความเป็นไปได้ในการเปิดเสรีข้อจำกัดในการตรวจลงตราและจัดตั้งช่องตรวจลงตราอาเซียน สำหรับผู้ถือสัญชาติอาเซียน และผ่อนปรนการตรวจลงตราสำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ • พัฒนาบริการทางการท่องเที่ยวร่วมกัน • พัฒนามาตรฐานทักษะ ฝึกอบรมวิชาชีพและเทคโนโลยี โดยแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศระหว่างกัน และจัดทำข้อตกลงยอมรับร่วมกันสำหรับการรับรองฝีมือด้าน ICT ที่มีคุณภาพ • ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือในอาเซียนให้มากขึ้น ปฏิบัติตามปฏิญญาอาเซียนเรื่องการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิแรงงานข้ามชาติ และศึกษาโครงการนำร่องการจัดตั้งเครือข่ายการเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือของอาเซียน ภายในปี 2015 • สร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายบริการทางสังคมและองค์กรผู้ปฏิบัติงานด้านสวัสดิการสังคม

  39. โครงการลำดับความสำคัญสูงภายใต้แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนโครงการลำดับความสำคัญสูงภายใต้แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ระหว่างปี 2011-2020 • อนาคต โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง • บางใหญ่–นครปฐม–กาญจนบุรี 97 กม. 4-6 ช่องจราจร • กาญจนบุรี – ชายแดนไทย/พม่า (บ้านพุน้ำร้อน) 70 กม. • เส้นทางรถไฟกาญจนบุรี-ชายแดนไทย-พม่า 1. การก่อสร้างเส้นทางรถไฟช่วงที่ขาดหาย อรัญประเทศ-คลองลึก ระยะ 6 กม. ภายในปี 2014 2. เร่งกระบวนการภายในประเทศเพื่อให้สัตยาบันพิธีสารและภาคผนวกแนบท้าย 3 ความตกลงภายใต้อาเซียน และความตกลง CBTA Missing Link พัฒนาระบบ Multimodal Transport เชื่อมโยงแหล่งผลิต production chain และตลาดในภูมิภาคและโลก 3. พัฒนาสมรรถนะ/ศักยภาพท่าเรือ 47 แห่ง ภายในปี 2015 4. พัฒนาเส้นทางเชื่อมโยงพม่าตามแนว EWEC ให้แล้วเสร็จ

  40. 21st Century Borderless Economy21st Century Borderless Economy2 Source: APTIAD (ESCAP)

  41. แนวโน้มความต้องการแรงงานในอนาคต และแนวทางการจัดนิทรรศการด้านตลาดแรงงาน 1. สถานการณ์การมีงานทำในปัจจุบัน 2. แนวโน้มของสถานการณ์ในอนาคต 3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและความร่วมมือ ของประเทศในลุ่มน้ำโขง 4. คุณลักษณะของแรงงานไทยในตลาดแรงงาน ของอาเซียนและตลาดแรงงานโลก

  42. คุณลักษณะของแรงงานไทยในตลาดแรงงานของอาเซียนคุณลักษณะของแรงงานไทยในตลาดแรงงานของอาเซียน และตลาดแรงงานโลก กองวิจัยตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน http://lmi.doe.go.th/ กองวิจัยตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน

  43. การขาดแคลนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมต่างๆการขาดแคลนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ Percentage of firms reporting vacancies of skilled and unskilled Labor Source: Thailand Productivity and Investment Climate Survey (PICS) 2007

  44. ทักษะที่แรงงานไทยขาด Source: Thailand Productivity and Investment Climate Survey (PICS) 2007

  45. เคลื่อนย้ายแรงงานเสรีใน 7 สาขาอาชีพ ปี 2558 ได้กำหนดจัดทำข้อตกลงร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangements: MRAs) • วิศวกรรม • พยาบาล • สถาปัตยกรรม • การสำรวจ • แพทย์ • ทันตแพทย์ • บริการบัญชี

  46. คุณลักษณะของแรงงานไทยในตลาดแรงงานของอาเซียน/โลกคุณลักษณะของแรงงานไทยในตลาดแรงงานของอาเซียน/โลก • ต้องมีใบประกอบวิชาชีพ (License or Certificate) ต่างๆที่เป็นที่ยอมรับและได้มาตรฐานสากล • ต้องมีความสามารถในการสื่อสารภาษาสากล หรือภาษาอังกฤษ • ต้องทราบความเคลื่อนไหวและมีข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการของตลาดแรงงาน • ต้องมีคุณสมบัติและพฤติกรรมที่เป็นที่ต้องการของนายจ้าง • แรงงานไทยต้องมีจิตสำนึกในการรักชาติและรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility)

  47. 9 พฤติกรรม 9 สู่ความสำเร็จ • วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน 9 พฤติกรรม 9 สู่ความสาเร็จ • พฤติกรรมความซื่อสัตย์ • พฤติกรรมความรับผิดชอบ • พฤติกรรมการมีระเบียบวินัย • พฤติกรรมความขยันและอดทน • พฤติกรรมทางานเป็นทีม • พฤติกรรมคิดสร้างสรรค์ • พฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ • พฤติกรรมการประหยัด • พฤติกรรมความปลอดภัย

  48. คุณสมบัติของลูกจ้างที่นายจ้างต้องการคุณสมบัติของลูกจ้างที่นายจ้างต้องการ หมายเหตุ : ศึกษาเฉพาะกรณีนายจ้างที่เข้าร่วมงานนัดพบแรงงานวันเสาร์บริเวณกระทรวงแรงงานในเดือนกุมภาพันธ์ และมีนาคม 2552 49

  49. ขอบคุณ

More Related