210 likes | 534 Views
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักอห่งครอบครัว. ภาคีเครือข่ายหลัก กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติละสิ่งแวดล้อม. บทบาทหน้าที่ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย 1.เป็นแกนนำหลักในการดำเนินงาน ระดับพื้นที่
E N D
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักอห่งครอบครัวตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักอห่งครอบครัว
ภาคีเครือข่ายหลัก • กระทรวงสาธารณสุข • กระทรวงมหาดไทย • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • กระทรวงศึกษาธิการ • กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติละสิ่งแวดล้อม
บทบาทหน้าที่ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย 1.เป็นแกนนำหลักในการดำเนินงาน ระดับพื้นที่ เพื่อจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ฯ 2.เป็นศูนย์ประสาน กำกับ ติดตาม และสรุปผลการดำเนินงาน 3. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 4. สนับสนุนทรัพยากร อันได้แก่ งบประมาณ บุคลากร ในการดำเนินงาน 5. ผลักดันพื้นที่เป้าหมาย เป็นแหล่งเรียนรู้ตำบลนมแม่ฯ
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 1. พัฒนาศักยภาพและถ่ายทอดองค์ความรู้ 2. พัฒนาคุณภาพบริการอนามัยแม่และเด็ก ให้สถานบริการสาธารรศุขทุกระดับ 3. ผลักดัน รพ.สต.ให้เป็นรพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว 4. สนับสนุนชุดคู่มือ ความรู้ สื่อ การดำเนินงาน 5. พัฒนาอสม. / จิตอาสา เป็น ปราชญ์ นมแม่ 6. ประสานความร่วมมือภาคีเครือข่าย เพื่อบูรณาการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 7. ร่วมกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ ตำบลนมแม่ฯ
กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • 1. สนับสนุนให้ครอบครัวดำเนินชีวิต ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง • จัดทำบัญชีครัวเรือน • 2. สนับสนุนพันธ์พืช ผัก สัตว์ เลี้ยง เพื่อให้ครอบครัว • มีอาหารเพียงพอ • 3. ร่วมบูรณาการพัฒนาอนามัยแม่และเด็กด้วยการ • ร่วมจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ • 4. ร่วมกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ • ตำบลนมแม่ฯ
กระทรวงศึกษาธิการ 1.เป็นหน่วยงานหลักในการนำองค์ความรู้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การเลี้ยงดูเด็กที่เหมาะสมเข้าสู่สถานศึกษา 2. สนับสนุนให้มีการจัดทำแผนการเรียนการสอน ในสถานศึกษาทุกระดับ 3. สนับสนุนให้แต่ละสถานศึกษา มีการอบรมดีเจ น้อยนมแม่ และให้เป็นนักจัดรายการวิทยุชุมชน 4. ร่วมบูรณาการพัฒนาอนามัยแม่และเด็กด้วยการ ร่วมจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ 5. ร่วมกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ ตำบลนมแม่ฯ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติละสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติละสิ่งแวดล้อม 1. สนับสนุนให้ครอบครัวมีการจัดสิ่งแวดล้อมภายในบ้าน และชุมชนให้ถูกสุขลักษณะ 2. ผลักดันให้ชุมชน ท้องถิ่นจัดทำแผนจัดการสิ่งแวดล้อม ภายในบ้าน และชุมชนให้ถูกสุขลักษณะ 3. ร่วมบูรณาการพัฒนาอนามัยแม่และเด็กด้วยการ ร่วมจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ 4. ร่วมกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ ตำบลนมแม่ฯ
กรอบแนวคิดโครงการ“ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว”กรอบแนวคิดโครงการ“ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว” เด็กแข็งแรง ฉลาด อารมณ์ดี จิตใจดี มีความสุข • สิ่งแวดล้อมที่เอื้อ • - เทศบาล/อบต. • นมแม่ต้นแบบ • รพ.สต.:โรงเรียน • นมแม่ • ศูนย์เด็กเล็ก • น่าอยู่คู่นมแม่ • สถานประกอบ • กิจการนมแม่ • รพ.สายใยรักฯ • ระดับทอง • - กองทุนนมแม่ • - ธนาคารนมแม่ • แกนนำชุมชน • นมแม่ พฤติกรรม ดีขึ้น มีลูกอายุ 20-35 ปี. ฝากท้องเร็ว.กินนมแม่. ครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่/เล่า/อ่านนิทาน/เล่น. • ทุนสังคม • - มาตรการสังคม • ครอบครัว • ต้นแบนมแม่ • ปราชญ์ อสม. • - แกนนำ.นมแม่ • ดีเจน้อย/ยุวฑูต • ผู้มีจิตอาสา • ชมรมต่างๆ • ภูมิปัญญา • ท้องถิ่น • - วัด ชุมชน ท้องถิ่น ศูนย์ประสาน ขับเคลื่อน ประชาชน ครอบครัวอบอุ่น มีความรัก นมแม่...คือสายใยรักแห่งครอบครัว หน่วยงาน ราชการ ผู้สนับสนุนที่ดี • ภาคีเครือข่ายขับเคลื่อน • กระทรวงสาธารณสุข 2. มูลนิธิศูนย์นมแม่ • 3.กระทรวงแรงงาน 4. กระทรวงพัฒนาสังคมฯ • 5.กระทรวงมหาดไทย 6. กระทรวงศึกษาธิการ • 7.กระทรวงเกษตรฯ 8.กระทรวงวัฒนธรรม
เกณฑ์ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัวเกณฑ์ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ( ต้องผ่านทุกข้อ) • ชุมชนมีแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • ชุมชนมีข้อมูลและการเฝ้าระวังเพื่อการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • ชุมชนประกาศกติกาสังคมเพื่อการ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มเป็น ร้อยละ 40 • มีกรรมการ/คณะทำงานในการดำเนินงานของตำบล • มีกองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านสวัสดิการและความเป็นอยู่ • ของครอบครัวเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
กระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่กระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ • ร่วมสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ฯ • 1.1 สำรวจข้อมูลแม่และเด็ก และจัดทำแผนที่เดินดิน • 1.2 เพิ่มพูนความรู้เรื่องนมแม่ “นมแม่ไม่ใช่แค่อาหาร • แต่คือรากฐานสร้างชีวิตคน” • ให้สมาชิกทุกคนในตำบลได้รับทราบ • 1.3 ระดมความคิด กำหนดจุดหมายปลายทางของตำบลนมแม่ฯ • 1.4 ร่วมสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการตำบลนมแม่ฯ • 1.5 ประชาคมตำบลนมแม่ฯ และมอบหมายผู้รับผิดชอบ • แต่งตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ 12
กระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯกระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯ • 2. ขับเคลื่อนตำบลนมแม่ด้วยมาตรการทางสังคม : ข้อตกลงที่ชาวบ้าน • ร่วมกันสร้างและปฏิบัติ • เช่น - แม่ควรมีลูกเมื่ออายุ 20-35 ปี • - หญิงตั้งครรภ์ ควรฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ครบ • ตามเกณฑ์ • เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนและเลี้ยงนมแม่ควบคู่อาหารเสริมตามวัยจนลูกอายุ ครบ 2 ปี หรือมากกว่า • ร้านค้าในหมู่บ้าน /ชุมชน ไม่จำหน่ายนมผงสำหรับเด็กแรกเกิด – 1 ปี • ครอบครัวที่มีลูกอายุ 0-5 ปี มีหนังสือนิทาน เล่านิทาน และเล่นกับลูก 13
กระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯกระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯ 3. สื่อสารสังคมด้วยสื่อท้องถิ่น “ตำบลนมแม่ฯ” 3.1จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ 3.2 ดีเจน้อย วิทยุชุมชน เสียงตามสาย 3.3 รถประชาสัมพันธ์ / รถยนต์ /จักยาน / สามล้อ ฯลฯ 3.4 ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพลงพื้นบ้าน / หมอลำ 3.5 จัดทำ เว็บไซต์ ตำบลนมแม่ 14
กระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯกระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯ 4. สร้างความรู้ ‘เรื่องนมแม่’ 4.1จัดทำแผนการสอน “นมแม่ ”ให้เด็กประถม มัธยมศึกษา ในตำบล 4.2 อบรมดีเจน้อย เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว 4.3 อบรม อสม. นมแม่ 4.4 อบรมปราชญ์ นมแม่ 4.5 อบรมบุคลากรท้องถิ่น / แกนนำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เรื่อง นมแม่ 4.6 อบรมพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย ในชุมชน เรื่องนมแม่ 4.7 อบรมมีสนมแม่ ในรพ.สต.
กระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯกระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯ 5. ค้นหาปราชญ์นมแม่ เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว คุณสมบัติปราชญ์ นมแม่ คือบุคคลผู้มีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ในเรื่องนมแม่ และการเลี้ยงดูเด็ก และนำภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้การแนะนำ ช่วยเหลือ พร้อมทั้งสามารถถ่ายทอดความรู้ เป็นต้นแบบ ให้แก่บุคคลอื่นได้
หน้าที่ปราชญ์ 1. มีข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ / แม่หลังคลอด /เด็กอ่อน มีการเยี่ยมบ้าน ให้คำปรึกษา แนะนำ ช่วยเหลือเรื่องนมแม่ 2. ใช้ความรู้ เรื่องสมุนไพร / วิถีปฏิบัติแบบไทย ใช้รักษา บำรุงน้ำนม 3. ให้ความรู้เรื่องนมแม่ ด้วยศิลปินพื้นบ้าน เช่นเพลงพื้นบ้าน ฯลฯ 4. สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ เรื่องนมแม่ เช่นสร้างอุปกรณ์การเก็บน้ำนมแม่ หรือ เครื่องมือที่ทำให้เด็กกินนมแม่ได้สะดวก ฯลฯ
ครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ “ก่อปฐมจากนมแม่ สร้างเด็กเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัย อยู่ในครอบครัวที่อบอุ่น”