130 likes | 277 Views
ผลประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน ประจำปีการศึกษา 255 5. ระหว่างวันที่ 10 – 11 กรกฎาคม 2556 มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. กรอบการนำเสนอ. รายนามคณะผู้ประเมินคุณภาพภายในประจำปี 2555. จุดเด่น ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 9 องค์ประกอบ. สรุปคะแนนการประเมินคุณภาพภายใน 25 5 5.
E N D
ผลประเมินคุณภาพภายในระดับสถาบัน ประจำปีการศึกษา 2555 ระหว่างวันที่ 10 – 11 กรกฎาคม 2556 มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
กรอบการนำเสนอ รายนามคณะผู้ประเมินคุณภาพภายในประจำปี 2555 จุดเด่น ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 9 องค์ประกอบ สรุปคะแนนการประเมินคุณภาพภายใน 2555 จุดเด่น ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาภาพรวม คณะกรรมการผู้ประเมินคุณภาพภายในประจำปี 2552
คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2555ระหว่างวันที่ 10-11 กรกฎาคม 2556 คณะกรรมการ 1. ผศ.ดร.ศศิธร วชิรปัญญาพงศ์ ประธาน 2. อ.ดร.ปัณณ์รภัส ถกลภักดี กรรมการ 3. อ.ปัณณรัตน์ วงศ์พัฒนานิภาส กรรมการ 4. อ.จันทราทิพย์ วงษ์กฤษ กรรมการ 5. ผศ.คชินทร์ โกกนุทาภรณ์ กรรมการ 6. อ.เศกพร ตันศรีประภาศิริ กรรมการ 7. อ.พรรณวิภา แพงศรี กรรมการ 8. อ.พิชญาณี เชิงคีรีไชยยะ กรรมการ 9. อ.ดร.ศักดิ์ สุวรรณฉาย กรรมการ 10.คุณรัชฎาพร ยอดศรี กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการผู้ประเมินคุณภาพภายในประจำปี 2552
เกณฑ์ในการแปลความหมายเกณฑ์ในการแปลความหมาย ≤ 1.50 การดำเนินงานยังไม่ได้คุณภาพ/ควรปรับปรุง1.51 - 2.00 การดำเนินงานได้คุณภาพระดับพอใช้2.01 - 2.50 การดำเนินงานได้คุณภาพระดับดี2.51 - 3.00 การดำเนินงานได้คุณภาพระดับดีมาก คณะกรรมการผู้ประเมินคุณภาพภายในประจำปี 2552
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2555 คณะกรรมการผู้ประเมินคุณภาพภายในประจำปี 2552
เปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2554และปีการศึกษา 2555 คณะกรรมการผู้ประเมินคุณภาพภายในประจำปี 2555
จุดเด่น ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาหรือทิศทางการพัฒนาภาพรวม
จุดเด่นภาพรวม 1.ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ และขับเคลื่อนการดำเนินงานของคณะได้ครบทุกภารกิจและมีประสิทธิภาพเชิงประจักษ์ 2.บุคลากรทุกระดับมีความรู้และความเข้าใจและมีความกระตือรือร้นในงานประกันคุณภาพเป็นอย่างดี 3.นักศึกษาและศิษย์เก่ามีความภาคภูมิใจ มีความรักและมีความผูกพันต่อบริบทของความเป็นคณะวิทยาการจัดการ ทั้งในส่วนการดูแลเอาใจใส่ของคณาจารย์ การบ่มเพาะความรู้ ความคิดและประสบการณ์ สถานที่ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน 4.อาจารย์มีความกระตือรือร้นต่อการพัฒนาตนเอง พัฒนาหลักสูตร และพัฒนาสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและผู้เรียน คณะกรรมการผู้ประเมินคุณภาพภายในประจำปี 2552
จุดเด่นภาพรวม 5.มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และมีความทันสมัย ส่งผลต่อสวัสดิภาพของบุคลากรทุกฝ่าย เช่น มีกล้องวงจรปิด มีระบบ Wi-Fi มีระบบบัตรคิว 6.มีระบบการสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่บุคลากรทุกระดับอย่างเป็นรูปธรรม 7.มีระบบงานด้านประกันคุณภาพที่เป็นเอกภาพและครอบคลุมการปฏิบัติงานทุกส่วนในคณะ และมีการพัฒนาระบบ QA Online ที่เป็นการรวบรวมเอกสารหลักฐานในงานด้านประกันคุณภาพที่เป็นระบบ คณะกรรมการผู้ประเมินคุณภาพภายในประจำปี 2552
ประเด็นที่ควรพัฒนาโดยรวมประเด็นที่ควรพัฒนาโดยรวม 1.ควรเร่งรัดให้บุคลากรสายวิชาการให้เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการยิ่งขึ้น 2.ควรมีการพัฒนาการเขียนรายงาน SAR ได้แก่ ด้านการอธิบายผลการดำเนินงานในส่วนที่ใช้หลักฐานและผลการดำเนินงานร่วมกับมหาวิทยาลัย ควรเขียนในลักษณะของการแสดงบทบาทร่วมของคณะที่มีต่อมหาวิทยาลัย ควรนำเสนอเอกสารหลักฐานที่ตรงกับการเสนอผลการดำเนินงาน 3.ควรเสนอให้มีการปรับบทบาท และความสำคัญของคณะกรรมการประจำส่วนราชการ เพื่อประโยชน์ในการบริหารให้เกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4.ควรเร่งรัดให้อาจารย์ทำผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ให้มากยิ่งขึ้น เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง พัฒนาการเรียนการสอน และครอบคลุมผลการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย คณะกรรมการผู้ประเมินคุณภาพภายในประจำปี 2552
ประเด็นที่ควรพัฒนาโดยรวมประเด็นที่ควรพัฒนาโดยรวม 5.ควรปรับเพิ่มจุดนั่งพักนอกห้องเรียน ปรับเปลี่ยนโต๊ะเรียน เป็นโต๊ะที่สะดวกต่อการเรียนรู้ 6.ควรเพิ่มจุดเน้นในการบูรณาการศิลปะและวัฒนธรรมลงสู่ระดับนักศึกษาให้มากยิ่งขึ้น 7.ควรส่งเสริมให้บุคลากรและนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมของหน่วยงานภายนอกมากขึ้น เพื่อให้ได้รับรางวัลระดับชาติ 8.คณะกรรมการตรวจสอบภายในควรเป็นกลุ่มบุคคลที่ไม่ใช่ผู้บริหารหรือผู้จัดทำในการวางแผนทางการเงิน
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1.การดำเนินงานของสาขาวิชาหรือคณะสามารถลดภารกิจด้วยการดำเนินงานแบบเครือข่ายระหว่างสาขาวิชาหรือคณะ 2.คณะมีทรัพยากรที่เอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมตามพันธกิจ ควรส่งเสริมให้มีการนำทรัพยากรเหล่านั้นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ และสอดคล้องกับกลยุทธ์ แผนปฏิบัติราชการ เป้าหมายของสาขาวิชาและคณะ เช่น การต่อยอดผลงานนักศึกษาจากห้องปฏิบัติการทางนิเทศศาสตร์ มาพัฒนาเป็นผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ระดับสาขาวิชาหรือคณะ 3.ควรนำเสนอเอกสารหลักฐานในงานด้านประกันคุณภาพด้วยระบบ QA Online ของคณะ เพื่อลดการใช้กระดาษ 4. ควรมีการปรับแก้ SAR ตามคำชี้แนะนำของกรรมการประเมิน ก่อนลงข้อมูลใน CHE QA เพื่อประโยชน์ในการตรวจประเมินอภิมาน 3 ปี ย้อนหลังของ สกอ.