1 / 27

สถิตศาสตร์ในของไหล

สถิตศาสตร์ในของไหล. 1 ความดันสถิต 2 กฎของปาสคาล 3 แรงพยุง 4 ความตึงผิว. ความเจ็บปวดบนผิวหนังขึ้นกับ -ขนาดแรงกระทำ , D t , D P -ขนาดของพื้นที่รับแรง. ความดันสถิต. 100 kg. 100 kg. ความหนาแน่นของแรงอาจส่งผลต่อบริเวณรับแรง. +y. g. p 2. y 2. y 1. p 1. A.

Download Presentation

สถิตศาสตร์ในของไหล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถิตศาสตร์ในของไหล 1 ความดันสถิต 2 กฎของปาสคาล 3 แรงพยุง 4 ความตึงผิว

  2. ความเจ็บปวดบนผิวหนังขึ้นกับความเจ็บปวดบนผิวหนังขึ้นกับ -ขนาดแรงกระทำ ,Dt ,DP -ขนาดของพื้นที่รับแรง ความดันสถิต 100 kg 100 kg ความหนาแน่นของแรงอาจส่งผลต่อบริเวณรับแรง

  3. +y g p2 y2 y1 p1 A ความดันเนื่องจากน้ำหนักกดทับของของไหล บนชั้นของไหล ที่บางมากพอ

  4. ใช้ได้แม่นยำแม้ว่า r หรือ g แปรค่าตามตำแหน่ง • เครื่องหมายบวก-ลบขึ้นกับการตั้งแกน • g - สนามโน้มถ่วงที่ปรากฏกับของไหล (ซึ่งขึ้นกับการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ระหว่างของไหลและภาชนะ)

  5. pa p pa 0 y dy y =h +y y ความดันเกจ (Guage p.) ความดันสัมบูรณ์(Absolute p.) ของไหลที่มี r และg คงที่ g

  6. การมีความเร่งของกรอบอ้างอิงการมีความเร่งของกรอบอ้างอิง a10 m am1 am0 F -ma10 am1 m -a10 F แรงปลอม(Fictitious F.)

  7. a mg N a mg N N-mg=ma N-mg-ma=0

  8. -a Nx mg Ny geff a Px -a Nx mg Py geff g Ny N=mg F=ma

  9. ac Nx mg Ny -ac g geff gจากการเหวี่ยง R gเหวี่ยง=w2R geff

  10. ความดันเลือดของคน

  11. ระบบเลือดของคน

  12. Dp2 F Dp1 f A Dp3 a กฎของปาสคาล ความดันที่เพิ่มขึ้นในของไหลสถิตที่ถูกกักในภาชนะปิดจะถูกส่งไปยังทุกส่วนของของไหลรวมทั้งที่ผนังภาชนะด้วย Dp1= Dp2= Dp3=..

  13. Y f F y notes f:F=1:1000,000 a:A=1:1000,000 r:R=1mm : 1m • ขนาดลูกสูบใหญ่ยิ่งมาก ยิ่งมีแรงยกมาก • แต่ระยะเคลื่อนที่ยิ่งน้อยลง • Hydraulic - ของไหลอัดไม่ได้ Pneumatic - ของไหลอัดได้ Dv= DV y:Y=1,000,000 :1

  14. rl gV p2 rl D y /ฤ ro g p1 = p2+ rl gDy r0 gV A แรงลอยตัว “ของไหลจะออกแรงพยุงวัตถุด้วยแรงขนาดเท่ากับน้ำหนักของไหลที่ถูกแทนที่ด้วยวัตถุนั้น” อาร์คีมีดีส Wปรากฎในของเหลว = ro gV- rl gVsink

  15. การลอย - การจม Vsink rl V rl ro gV > rl gVsink ro gV = rl gVsink ro > rl ro < rl Wปรากฎ = ( ro - rl )gV >0

  16. ฟิล์มของไหลตึง โมเลกุลเคลื่อนที่ได้คล่อง ความตึงผิว ขอบของภาชนะ ผิวของของเหลว ผลจากแรงยึดเหนี่ยวในทิศขนาน ทำให้ชั้นผิวหน้ามีความตึงตัวตลอดเวลา แรงในทิศตั้งฉาก ทำให้ชั้นผิวโอบรัดปริมาตรของเหลวให้มีพื้นที่ผิวน้อยที่สุด ….หยดของเหลวมักเป็นรูปทรงกลม

  17. F l4 l1 Dx l3 l2 ความตึงผิว g == พลังงานที่ต้องการในการเกิดผิวเพิ่มขึ้น 1 ตารางหน่าย

  18. l FL=g l FR=g l Fmax=2g l แรงตึงผิว r Fmax=2g 2pr Ftotal=g 2prcosq q

  19. Ex ถ้าคลิปหนีบกระดาษมวล 0.5 กรัม เป็นลวดยาวทั้งหมด 11 cm สามารถวางบนผิวน้ำได้โดยไม่จม ผิวน้ำที่จุดสัมผัสมีมุมมเอียงเท่าไร (gน้ำ= 0.070 N/m)

  20. แก้ว แก้ว น้ำ ปรอท gs-v gl-v gs-v gl-v gs-l q q gs-l q q น้ำเปียกกแก้ว ปรอทไม่ เปียกแก้ว มุมสัมผัส

  21. ปรากฏการณ์คะปิลารี r h Dm q

  22. Ex แผ่นกระจกคู่ขนานขนาดหน้ากว้าง 1 เมตรวางห่างกัน 0.5 มม. จะมีน้ำถูกดูดขึ้นในแนวดิ่งเท่าไร

  23. สมการลาปลาซ ฟองสบู่ หยดน้ำ pR2 แรงตึงผิว 2g(2pR) แรงตึงผิว g (2pR) po pi pi po 2g(2pR) = (pi -po) pR2 ลูกโป่งลูกเล็ก และลูกใหญ่อันไหนต้องออกแรงเป่ามากกว่ากัน ??

  24. Ex ฟองอากาศในน้ำเดือด(g =0.059 N/m) ขนาดรัศมี 1 mm มีความดันเกจภายในเป็นเท่าไร

  25. pg=0 pgo = -4mmHg pgi=-3mmHg 10-4 m. ความตึงผิวในปอด

  26. คำนวณ • ในปอดมีสารลดแรงตึงผิว (Surfactant)เจืออยู่ เรียกว่า Dipalmitoyl Phosphatidyl Choline (DPC)ลดแรงตึงผิวลงเหลือ 15 เท่า A B ? pA< pB RA>RB

  27. ทำไมถุงลมจึงไม่ยุบตัวหมดทำไมถุงลมจึงไม่ยุบตัวหมด • ความตึงผิวที่ลดลง ขึ้นกับความเข้มข้นของ DPC • ปริมาตรถุงลมที่ลดลง ทำให้ความเข้มข้นของ DPC เพิ่มขึ้น • ในถุงลมลูกเล็ก ๆ ความตึงผิวจะลดลงมากกว่าในถุงใหญ่ • ระบบจะปรับตัวเข้าหากันจน ความแตกต่างของความดันต่ำลงเพียงพอ ( -1 มมปรอท ) ถุงลมจึงหยุดการหดตัวและไม่มีทางที่จะยุบตัว

More Related